Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Digital Commons Network

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Other Education

PDF

Theses/Dissertations

2020

Institution
Keyword
Publication

Articles 151 - 174 of 174

Full-Text Articles in Entire DC Network

Stress And Coping Strategies Of Female 911 Emergency Telecommunicators, Briana Denise Kelley Jan 2020

Stress And Coping Strategies Of Female 911 Emergency Telecommunicators, Briana Denise Kelley

Walden Dissertations and Doctoral Studies

The Emergency number 9-1-1 is the most widely known and used telephone number in the United States and Canada, yet turnover, understaffing, and low retention of staff are national concerns in 9-1-1 emergency telecommunication centers. Emergency (9-1-1) telecommunicators are often the “first” first responder in the emergency cycle and are responsible for the collection and dissemination of emergency information to police, fire, and medical units. Resilience theory was utilized to see how some individuals adjust, adapt, and assimilate with presenting environmental stressors and/or conditions. This study of female emergency telecommunicators in a Southern Combined Emergency Dispatch Center explored the stressors …


Creating Project-Based Math Curricula: A Narrative Inquiry, Marcie Hull Jan 2020

Creating Project-Based Math Curricula: A Narrative Inquiry, Marcie Hull

West Chester University Doctoral Projects

This study is a narrative inquiry about the participant’s experiences, in three individual case studies, involving teachers of high school mathematics engaged in the creation of a project-based learning curriculum, in a one-to-one laptop school. The researcher analyzed data from field notes, digital artifacts, and teacher interviews to document how math teachers are creating curriculum in an inquiry-driven, project-based, technology-infused instructional model. Findings from restorying and the analysis of three-dimensional space —regarding teacher lore —reveal themes about math teacher curriculum conflicts in skill-building, application of iterative design thinking, and structures inherent to project-based learning. Rich, thick description of the cases, …


Named But Not Known: Teaching And Assessing The Research-Writing Process, Ruth Boeder Jan 2020

Named But Not Known: Teaching And Assessing The Research-Writing Process, Ruth Boeder

Wayne State University Dissertations

In lived experience, the two processes of secondary research and writing overlap and intertwine interminably, creating an overarching complex system as research becomes expressed in writing and writing generates new research. This classroom study explores the two processes as one—the research-writing process—through coding of student journal responses and assessment of student research papers. Analysis reveals students to be thoughtful but not yet as nuanced in their descriptions of their research process as much be desired. They more frequently discuss writing with weaknesses in their research process than with research strengths. Further findings indicate that although it is difficult to assess …


แนวทางการสอนขับร้องประสานเสียงด้วยบทเพลงภาษาไทยระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย, พรเทพ วิชชุชัยชาญ Jan 2020

แนวทางการสอนขับร้องประสานเสียงด้วยบทเพลงภาษาไทยระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย, พรเทพ วิชชุชัยชาญ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเรียบเรียงเสียงประสานบทเพลงขับร้องประสานเสียงภาษาไทยสำหรับวงขับร้องประสานเสียง 4 แนว (SATB) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายขึ้น จำนวน 3 บทเพลง ได้แก่ บทเพลงชื่นชีวิต บทเพลงงามแสงเดือน และบทเพลงสดุดีจอมราชา 2) เพื่อนำเสนอแนวทางการสอนขับร้องประสานเสียงด้วยบทเพลงภาษาไทยที่เรียบเรียงขึ้น กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ได้แก่ 1) บทเพลงขับร้องประสานเสียงภาษาไทยที่เรียบเรียงขึ้น 3 บทเพลง 2) ผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมินบทเพลง 3 ท่าน เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ แบบสังเกตและวิเคราะห์บทเพลง และแบบประเมินบทเพลงขับร้องประสานเสียง วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา และนำเสนอข้อมูลแบบความเรียงโดยใช้การพรรณความ ผลการวิจัย พบว่า 1) บทเพลงขับร้องประสานเสียงดังกล่าวทั้ง 3 บทเพลง ได้เรียบเรียงเสียงประสานให้มีความเหมาะสมกับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกอบด้วย ด้านทำนองและเสียงประสาน ด้านจังหวะ ด้านคำร้อง และระยะช่วงเสียง 2) แนวทางการสอนบทเพลงขับร้องประสานเสียง ประกอบด้วย 2.1) แนวทางการสอนด้านทำนองและเสียงประสาน ได้แก่ การฝึกร้องบันไดเสียงและขั้นคู่เสียง การฝึกกระบวนการหายใจและการควบคุมลมหายใจ การฝึกร้องโน้ตเอื้อนในภาษาไทย การฝึกร้องประสานเสียงแบบแคนอนผสมผสานกับการประสานเสียงแบบ 4 แนว การฝึกเรื่องความสมดุลของเสียง และการร้องโน้ตแขวน (Suspension) และโน้ตเกลา (Resolution) 2.2) แนวทางการสอนด้านจังหวะ ได้แก่ การฝึกจังหวะส่วนโน้ตให้คงที่ การร้องจังหวะโน้ตประดับ (Acciaccatura) การร้องประสานเสียงลักษณะดนตรีประกอบเลียนแบบเสียงเครื่องดนตรี (Vocal percussion) และการฝึกร้องจังหวะโน้ตตัวแรกให้พร้อมเพรียงกัน และ 2.3) แนวทางการสอนด้านคำร้อง ได้แก่ การร้องเสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทย การร้องพยัญชนะต้นและคำควบกล้ำ และการร้องคำที่มีตัวสะกด


Rey-Ifying A New Heroine: Interrogating The Curriculum Of Femininity In Star Wars Films, Rebekah S. Morgan Jan 2020

Rey-Ifying A New Heroine: Interrogating The Curriculum Of Femininity In Star Wars Films, Rebekah S. Morgan

Electronic Theses and Dissertations

The Star Wars film trilogies are a cross-generational phenomenon. Due to its powerful and pervasive nature, the messages within Star War’s films must be problematized. As a cultural artifact, Star Wars was used to explore the representations of women across time and three generations. Using a conceptual framework based on cultural curriculum studies and feminist theory, this study explored the significance of Star Wars as gender text by interrogating the representations of women in the Star Wars film saga and what these representations teach about gender and femininity. By focusing on the themes of agency, empowerment, and identity, this work …


Attracting And Retaining Appropriately Qualified Staff At Seafarer Training Institutions : The Case Of South Africa, Douglas Dyers Jan 2020

Attracting And Retaining Appropriately Qualified Staff At Seafarer Training Institutions : The Case Of South Africa, Douglas Dyers

World Maritime University Dissertations

No abstract provided.


Disentangling Student Engagement In Afterschool Programs, Ashlee M. Lester Jan 2020

Disentangling Student Engagement In Afterschool Programs, Ashlee M. Lester

Theses and Dissertations

This dissertation presents a line of research exploring the characteristics and role of student engagement in afterschool programs, specifically during early adolescence. The dissertation takes a two-study format, building off of my comprehensive exam Measuring engagement in out-of-school time programs. This first chapter is an introduction in which I will detail the underlying problem that is investigated in the following two manuscripts. Following this introduction, the two separate studies are presented.


The Miseducation Of American Youth: The Detriments Of Whitewashing Literature In Secondary Schools, Molly Magill Jan 2020

The Miseducation Of American Youth: The Detriments Of Whitewashing Literature In Secondary Schools, Molly Magill

Honors Program Theses

For the entire history of American education, the gates to knowledge and power were kept closed from any minority, the key to which lies in teaching texts that students find accessible and relatively easy to understand. In the framework of American education lie the white, Anglosaxon forefathers who created institutions designed to benefit and propagate their ideas for generations to come. This framework still upholds American education. Its reflection lies in the pool of literature taught to secondary students throughout the country. Modern educational theory argues that students learn best when they are able to connect to instructed texts. The …


Strengthening The Capacity To Serve Undocumented Students In A Rural California State University, Carlos Alvarado Sanchez Jan 2020

Strengthening The Capacity To Serve Undocumented Students In A Rural California State University, Carlos Alvarado Sanchez

Cal Poly Humboldt theses and projects

Undocumented students face many obstacles while seeking a higher education degree. As undocumented students apply and are accepted to colleges and universities, they should have the means and resources to complete their higher education degree like all students. An array of strategies can be considered and implemented to have educators and school administrators in higher education be better equipped to serve all students, but specifically undocumented students.

Educators and administrators could continue their acquisition of knowledge base and comfortability about the different implications that surround undocumented students. Therefore, this thesis seeks to examine the efficacy of self-reports on a pre- …


Teacher Support: A Study About Teacher Emotional Support And Engagement Among Middle School Boys, Melissa Johnson Jan 2020

Teacher Support: A Study About Teacher Emotional Support And Engagement Among Middle School Boys, Melissa Johnson

Graduate Student Theses, Dissertations, & Professional Papers

Engagement in school has been recognized as important for achievement in multiple ways, and yet adolescent boys have been observed to be less engaged in school than their female peers. Boys are less motivated than girls, spend less time on homework, and have lower expectations of themselves (Barber, 1996). Boys experience the following school and personal events at rates higher than girls: discipline referrals, suspensions, failing and near-failing grades, and also suicide. This study examined the differential responses between boys and girls in terms of perceived teacher support and student engagement.

The study began with an initial survey distributed to …


Interaction, Collaboration And Content Creation In Informal Online Learning Environments: Multidimensional Analyses Of Longitudinal Data From The Scratch Coding Community, Seung B. Lee Jan 2020

Interaction, Collaboration And Content Creation In Informal Online Learning Environments: Multidimensional Analyses Of Longitudinal Data From The Scratch Coding Community, Seung B. Lee

Theses and Dissertations

Despite rising levels of participation by children and adolescents in large, informal online learning communities, there has been limited research examining the role that social dynamics play on the online behavior of young users. In this context, this mixed-methods longitudinal study aimed to investigate the relationship between interaction, collaboration and content creation through the analysis of user-generated comments and log-data from the Scratch platform. The research focused on more than 45,000 comments associated with the online activity of 200 randomly selected participants over a period of three months in early 2012. A combination of methodological techniques was applied in the …


พัฒนาการการเรียนรู้และวิธีการสอนไวโอลินในสำนักการสอนทัศนา นาควัชระ, ปุณยาพร เพรียวพานิช Jan 2020

พัฒนาการการเรียนรู้และวิธีการสอนไวโอลินในสำนักการสอนทัศนา นาควัชระ, ปุณยาพร เพรียวพานิช

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาประวัติและพัฒนาการในสำนักการสอนไวโอลินของทัศนา นาควัชระ และ 2) ศึกษาวิธีการสอนและการถ่ายทอดทักษะไวโอลินในสำนักการสอนของทัศนา นาควัชระ การศึกษาครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลจากการศึกษางานเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) และนำเสนอผลการวิจัยเป็นความเรียง ผลการวิจัยพบว่า 1) ทัศนาได้รับอิทธิพลด้านดนตรีจากครอบครัว ได้รับการศึกษาดนตรีทั้งในประเทศไทย ยุโรป และสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันทัศนาดำรงตำแหน่งหัวหน้าวงโปรมูสิกาและตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการการศึกษาด้านดนตรี ได้แก่ โครงการเรียนดนตรีวิธีศิลปากร และโครงการคีตราชา โปรมูสิกา จูเนียร์ แคมป์ 2) การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาเครื่องเอกและรายวิชาการรวมวงเป็นการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง วิธีการสอนที่เลือกใช้ได้แก่ วิธีการสอนโดยใช้การบรรยาย วิธีการสอนโดยใช้การสาธิต วิธีการสอนโดยใช้การฝึกฝนและการปฏิบัติ วิธีการสอนโดยใช้กรณีตัวอย่างและการทัศนศึกษา และวิธีการสอนโดยใช้การถาม-ตอบ การประเมินผลเป็นการใช้การประเมินตามสภาพจริง เทคนิคการปฏิบัติทักษะไวโอลินในระดับปีการศึกษาที่ 1-2 เป็นการฝึกเทคนิคพื้นฐาน เทคนิคการปฏิบัติทักษะไวโอลินในระดับปีการศึกษาที่ 3-4 เป็นการฝึกเทคนิคขั้นสูง บทประพันธ์หลักที่ศึกษาในระดับชั้นปีการศึกษาที่ 1-4 เป็นบทประพันธ์ประเภทไวโอลินคอนแชรโต ตำราหลักที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้แก่ 1) The School of Violin Technics โดย Henry Schradieck 2) 40 Variations Op. 3 โดย Otakar Sevcik 3) Shifting the Position and Preparatory Scale-Studies for the Violin โดย Otakar Sevcik 4) Contemporary Violin Technique โดย Ivan Galamian และ 5) Scale System for Violin โดย Carl Flesch


From Field To Museum: Intergenerational Education In Public Archaeology, Nicholas Daniel Dungey Jan 2020

From Field To Museum: Intergenerational Education In Public Archaeology, Nicholas Daniel Dungey

Electronic Theses and Dissertations

Archaeologists have developed different curricula and methods within museums, classrooms, and field settings that engage the public in learning about the past. One realm of public archaeology that has received little research is studying how intergenerational education impacts engaging learners of varying ages with the past. Community collaboration and place-based education (PBE) have served as relevant topics of research for intergenerational educators. I incorporated intergenerational education methods at an archaeology summer camp at Highlands Micro School and at a temporary interactive exhibit at the History Colorado Center. I utilized surveys to determine changes in perception of archaeology that occurred between …


Between And Behind The Lines: The Life Of High School Coaches, Mary Davis Jan 2020

Between And Behind The Lines: The Life Of High School Coaches, Mary Davis

Electronic Theses and Dissertations

In this study, I write about the emotional journey of high school athletic coaches’ experiences as they move through their day as teachers, coaches, and spouses/parents. The examination of the emotions and transitions high school coaches experience has been largely unresearched. There have been examinations of teachers, the impact coaches have on athletes, and a coach as a parent, but there is not extensive research on all three roles experienced by one person. High school athletics is a tremendous part of high school, and coaches have a tremendous impact not only on their players, but on the students they teach …


Separate And Unequal: Latinx Access, Enrollment And Completion Of Ap Coursework In The State Of Virginia, Virginia Elizabeth Palencia Jan 2020

Separate And Unequal: Latinx Access, Enrollment And Completion Of Ap Coursework In The State Of Virginia, Virginia Elizabeth Palencia

Theses and Dissertations

In response to the national problem of overrepresentation of Latinx students in general education classes, this study addresses Latinx access to Advanced Placement (AP) coursework, enrollment, and completion patterns in Virginia, a growing destination state for many Latinx families and students. Through a secondary data analysis of both the Civil Rights Data Collection (2015-6) and College Board data (2016), this quantitative study mapped patterns of disproportionality in AP access, enrollment, and completion for Latinx students, who comprise 13% of enrollment in Virginia public high schools. In addition, a case study of two diverse school districts provides evidence of segregation and …


Impact Of Student’S Gender And Perceived Skin Tone On Educators’ Disciplinary Decisions, Kierstyn K. Johnson-Wigfall Jan 2020

Impact Of Student’S Gender And Perceived Skin Tone On Educators’ Disciplinary Decisions, Kierstyn K. Johnson-Wigfall

Theses and Dissertations

The purpose of this proposed dissertation is to examine the relationship of students’ skin color and gender to school disciplinary decisions for African American children. While skin tone bias or colorism is frequently studied, limited research has been completed about its prevalence in American public schools during the discipline process. For example, school suspension leads to higher rates of absenteeism, lower academic achievement and higher chances of incarceration. Even students who receive an office referral and return to c lass minutes later miss pertinent instruction time. This study aims to: 1) add to the body of literature about this topic, …


The Blind Spots: The Importance Of Measuring Non-Academic Indicators That Are Critical To Producing Positive Outcomes Specifically For Youth Who Are Living In Adverse Conditions, Orrin White Jan 2020

The Blind Spots: The Importance Of Measuring Non-Academic Indicators That Are Critical To Producing Positive Outcomes Specifically For Youth Who Are Living In Adverse Conditions, Orrin White

West Chester University Doctoral Projects

The study explores the impact of measuring non-academic indicators to establish and promote positive secondary and post-secondary outcomes, specifically for youth living in adverse conditions. In pursuit of this objective, the sixth grade population attending a traditional public middle school in Wilmington, Delaware completed the Search Institute’s Developmental Asset Profile (DAP), a self-report survey designed to understand the strengths and supports young people have in their lives. The assessment of the secondary data was the result of already existing programming and evaluation initiatives by the United Way of Delaware. The analyses show that participants perceptions of self, family, and community …


การบริหารผลตอบแทนและแรงจูงใจของครูดนตรีโรงเรียนดนตรีเอกชนนอกระบบ, พรรณพัชร กฤษณ์เพ็ชร์ Jan 2020

การบริหารผลตอบแทนและแรงจูงใจของครูดนตรีโรงเรียนดนตรีเอกชนนอกระบบ, พรรณพัชร กฤษณ์เพ็ชร์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods) ระหว่างวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูดนตรีที่มีต่อการบริหารผลตอบแทนจากการทำงานในโรงเรียนดนตรีเอกชนนอกระบบ และ 2) เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการทำงานของครูดนตรีโรงเรียนดนตรีเอกชนนอกระบบ ประชากรในงานวิจัยนี้ได้แก่ ครูดนตรีในโรงเรียนดนตรีเอกชนนอกระบบ เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็น 1) กลุ่มตัวอย่างในการสำรวจ 186 คน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย และ 2) กลุ่มตัวอย่างในการสัมภาษณ์ 12 คน โดยวิธีการคัดเลือกแบบลูกโซ่ เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย คือ แบบสำรวจและแบบสัมภาษณ์ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลตอบแทนและแรงจูงใจในการทำงาน การวิเคราะห์ข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 วิธี ได้แก่ 1) การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้ค่าสถิติเชิงบรรยาย อันได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติสหสัมพันธ์ อันได้แก่ ค่าสถิติ Games Howell 2) ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ครูดนตรีมีความคิดเห็นว่าผลตอบที่ได้รับมากที่สุดจากการสอนดนตรีคือผลแทนที่ไม่ใช่รูปแบบเงินและผลตอบแทนทางด้านอารมณ์และสังคม ได้แก่ การได้รับการปฏิบัติอย่างเป็นมิตรและให้เกียรติจากผู้บริหารและเพื่อนร่วมงาน ( x̄ = 4.66, SD = 0.66) การได้เห็นนักเรียนมีความสุขและความพึงพอใจในการมาเรียน ( x̄ = 4.62, SD = 0.60) และการได้เห็นผลลัพธ์ พัฒนาการของนักเรียน ( x̄ = 4.61, SD = 0.58) ซึ่งมากกว่าผลตอบแทนรูปแบบเงิน ( x̄ = 3.82, SD = 0.54) และผลตอบแทนด้านสวัสดิการและสิทธิประโยชน์พนักงาน ( x̄ = 3.77, SD = 0.87) 2) แรงจูงใจหลักในการทำงานของครูสอนดนตรี คือ แรงจูงใจที่ได้ประสบความสำเร็จและความภาคภูมิใจในอาชีพ ( x̄ = …


กลวิธีการบรรเลงและการสอนทักษะซอด้วงขั้นสูงของหลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยชีวิน)ผ่านครูเชวงศักดิ์ โพธิสมบัติ: เพลงเดี่ยวจังหวะหน้าทับปรบไก่สามชั้นสายกรมมหรสพ, วีระกิจ สุวรรณพิทักษ์ Jan 2020

กลวิธีการบรรเลงและการสอนทักษะซอด้วงขั้นสูงของหลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยชีวิน)ผ่านครูเชวงศักดิ์ โพธิสมบัติ: เพลงเดี่ยวจังหวะหน้าทับปรบไก่สามชั้นสายกรมมหรสพ, วีระกิจ สุวรรณพิทักษ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากลวิธีการบรรเลงเพลงเดี่ยวซอด้วงขั้นสูงในจังหวะหน้าทับ ปรบไก่สามชั้น ทางหลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยชีวิน) สายกรมมหรสพ และ 2) ศึกษากลวิธีการสอนทักษะเพลงเดี่ยวซอด้วงขั้นสูงในจังหวะหน้าทับปรบไก่สามชั้น ทางหลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยชีวิน) สายกรมมหรสพ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) วิธีดำเนินการวิจัยโดยการศึกษานำร่อง (Pilot study) จากนั้นกำหนดกลุ่มผู้ให้ข้อมูลแบ่งออกเป็น 1) ด้านเอกสาร และ 2) ด้านบุคคล ประกอบไปด้วย กลุ่มที่ 1 ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key informant) คือ ครูเชวงศักดิ์ โพธิสมบัติ ใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling)กลุ่มที่ 2 ลูกศิษย์ซอด้วงของครูเชวงศักดิ์ โพธิสมบัติรุ่นแรก ใช้เทคนิคการเลือกแบบโสนว์บอล (Snowball sampling)และกลุ่มที่ 3 ลูกศิษย์ซอด้วงของครูเชวงศักดิ์ โพธิสมบัติรุ่นปัจจุบันใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) ร่วมกับการสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant observation) วิเคราะห์ข้อมูลและสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย (Inductive reasoning) และตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า (Data triangulation) ผลการวิจัยพบว่าพบว่า ตอนที่ 1 เพลงเดี่ยวซอด้วงพญาโศก สามชั้น เป็นเพลงท่อนเดียว ปรากฏทั้งหมด 3 ทางเสียง มีท่วงทีลีลาสำนักและบุคคล และปรากฏอารมณ์โศกเศร้า เทคนิคที่ปรากฏรวมทั้งเที่ยวโอดและเที่ยวพันทั้งหมด 16 เทคนิค จาก 19 เทคนิค เทคนิคที่ไม่พบมีจำนวนทั้งหมด 3 เทคนิค และเพลงเดี่ยวซอด้วงแขกมอญ สามชั้น เป็นเพลงสามท่อน ปรากฏทั้งหมด 3 ทางเสียง มีท่วงทีลีลาสำนักและบุคคล อารมณ์รักและปรากฏสำเนียงมอญ เทคนิคที่ปรากฏทั้งในเที่ยวโอดและเที่ยวพันทั้ง 3 ท่อน พบเทคนิคทั้งหมด 14 เทคนิคจาก 18 เทคนิค เทคนิคที่ไม่ปรากฏมีจำนวน 4 …


การพัฒนาแบบฝึกพาวเวอร์คอร์ดออนไลน์เพื่อพัฒนาชีพจรจังหวะสำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย, น้ำเพชร ชื่นแพ Jan 2020

การพัฒนาแบบฝึกพาวเวอร์คอร์ดออนไลน์เพื่อพัฒนาชีพจรจังหวะสำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย, น้ำเพชร ชื่นแพ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาเนื้อหาและรูปแบบการสร้างแบบฝึกพาวเวอร์คอร์ดออนไลน์เพื่อพัฒนาชีพจรจังหวะสำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย 2) พัฒนาแบบฝึกพาวเวอร์คอร์ดออนไลน์เพื่อพัฒนาชีพจรจังหวะสำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย การวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบการวิจัยและพัฒนา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แบบสัมภาษณ์แบบเจาะลึก 2) แบบทดสอบทักษะการปฏิบัติ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจ 4) แบบประเมินแบบฝึกพาวเวอร์คอร์ด กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญคือนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการสอนกีตาร์ไฟฟ้า และนักกีตาร์ที่มีชื่อเสียงทางด้านกีตาร์ไฟฟ้าสไตล์ร็อค ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. เนื้อหาและรูปแบบการสร้างแบบฝึกพาวเวอร์คอร์ดออนไลน์ด้านเนื้อหาประกอบไปด้วย 1) เนื้อหาที่เกี่ยวกับพาวเวอร์คอร์ด 2) คำอธิบายเกี่ยวกับโน้ตบนคอกีตาร์ของสายที่หกและสายที่ห้า 3) เทคนิคและแบบการฝึกปฏิบัติมือขวา 4) แบบฝึกที่พัฒนานำมาจากบทเพลงจริง 5) การสาธิตตัวอย่างก่อนเข้าแบบฝึก 6) แบบสาธิตการฝึกฝนที่ถูกและการฝึกฝนที่ผิด ในด้านรูปแบบประกอบไปด้วย 1) องค์ประกอบของภาพและเสียง ต้องมีคุณภาพ มีการใช้กราฟฟิกในการเน้นเนื้อหาที่ต้องการให้ผู้เรียนจดจำ 2) บุคลิกภาพ การแต่งกายของผู้สอนที่เหมาะสม และบรรยากาศสถานที่ถ่ายทำที่สร้างแรงจูงใจในการเรียน 3) การบรรยายถึงวิธีการปฏิบัติประกอบระหว่างการสาธิต 4) มุมกล้องที่ถ่ายทำที่สามารถแสดงภาพของการเล่นที่เจาะจงและมีความชัดเจน เพื่อให้ผู้ฝึกสามารถเรียนรู้และปฏิบัติได้ด้วยตนเอง 2. ผลการประเมินคุณภาพแบบฝึกพาวเวอร์คอร์ดออนไลน์จากผู้เชี่ยวชาญทางด้านการสอนกีตาร์ไฟฟ้าทั้งหมด 5 ท่านพบว่า ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (M = 4.96, SD = 0.06) และจากการพัฒนาแบบฝึกยังพบว่า การฝึกปฏิบัติพาวเวอร์คอร์ดเพื่อพัฒนาชีพจรจังหวะให้สัมฤทธิ์ผลนั้น ควรให้ความสำคัญกับการปฏิบัติมือขวาเช่นเดียวกับการเล่นมือซ้าย โดยมุมกล้องควรเน้นให้เห็นการปฏิบัติของมือขวาที่ชัดเจนทุกครั้ง เนื่องจากการสร้างจังหวะเกิดขึ้นจากการดีดขึ้น-ลงของมือขวา นอกจากนี้ควรใช้เสียงเมโทรนอมเพื่อช่วยการนับจังหวะจริงก่อนเริ่มแบบฝึก เพื่อให้ผู้เรียนสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์แบบฝึก


การศึกษาพฤติกรรมเอื้อสังคมโดยใช้เกมบิงโกตามทฤษฎีสุขภาวะร่วมกับการสอนดนตรีแบบเดี่ยว, วรจสมน ปานทองเสม Jan 2020

การศึกษาพฤติกรรมเอื้อสังคมโดยใช้เกมบิงโกตามทฤษฎีสุขภาวะร่วมกับการสอนดนตรีแบบเดี่ยว, วรจสมน ปานทองเสม

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบพัฒนาการพฤติกรรมเอื้อสังคมของนักเรียนก่อน และหลังการใช้เกมบิงโกตามทฤษฎีสุขภาวะร่วมกับการสอนดนตรีแบบเดี่ยว 2) ศึกษากระบวนการเกิดพฤติกรรมเอื้อสังคมของนักเรียนในการใช้เกมบิงโกตามทฤษฎีสุขภาวะร่วมกับการสอนดนตรีแบบเดี่ยว 3) ศึกษาลักษณะพฤติกรรมเอื้อสังคมของนักเรียนในการใช้เกมบิงโกตามทฤษฎีสุขภาวะร่วมกับการสอนดนตรีแบบเดี่ยว เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) เกมบิงโกตามทฤษฎีสุขภาวะ 2) แบบบันทึกคะแนนพฤติกรรมเอื้อสังคม และ 3) แบบบันทึกการแสดงพฤติกรรมเอื้อสังคม ผู้เข้าร่วมการวิจัยนี้ได้แก่ นักเรียนที่เรียนวิชาปฏิบัติทักษะดนตรีกับผู้วิจัยเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี จำนวน 3 คน การดำเนินงานวิจัยประกอบด้วยการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาพฤติกรรมเอื้อสังคมในห้องเรียนดนตรีโดยใช้ทฤษฎีสุขภาวะ เพื่อนำมาพัฒนาเป็นเกมบิงโกตามทฤษฎีสุขภาวะใช้ร่วมกับบทเรียนดนตรีแบบเดี่ยว จากนั้นนำเกมบิงโกตามทฤษฎีสุขภาวะไปใช้กับผู้เข้าร่วมการวิจัย โดยมีการสังเกตพฤติกรรมเอื้อสังคมของนักเรียนที่เกิดขึ้น แบ่งออกเป็น 1) การแสดงพฤติกรรมเอื้อสังคมของนักเรียนก่อนการใช้เกมบิงโกตามทฤษฎีสุขภาวะ 2) การแสดงพฤติกรรมเอื้อสังคมของนักเรียนระหว่างการใช้เกมบิงโกตามทฤษฎีสุขภาวะ และ 3) การแสดงพฤติกรรมเอื้อสังคมของนักเรียนหลังการใช้เกมบิงโกตามทฤษฎีสุขภาวะ จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้โดยใช้สถิติบรรยาย เปรียบเทียบคะแนนพฤติกรรมเอื้อสังคมตามทฤษฎีสุขภาวะของนักเรียนก่อนและหลังการใช้เกมบิงโกตามทฤษฎีสุขภาวะโดยใช้กราฟ ผลการวิจัยมีดังนี้ 1) ผู้ให้ข้อมูลสำคัญทุกคนมีคะแนนการแสดงพฤติกรรมเอื้อสังคมที่สูงขึ้นหลังการใช้เกมบิงโกตามทฤษฎีสุขภาวะ จึงสามารถสรุปได้ว่า เกมบิงโกตามทฤษฎีสุขภาวะช่วยส่งเสริมให้นักเรียนเกิดพฤติกรรมเอื้อสังคมได้ 2) เกมบิงตามทฤษฎีสุขภาวะช่วยให้นักเรียนมีพัฒนาการการเรียนรู้ด้านจิตพิสัยอย่างเป็นลำดับขั้น ซึ่งนำไปสู่การแสดงพฤติกรรมเอื้อสังคมตามทฤษฎีสุขภาวะของนักเรียน 3) แม้ไม่มีบิงโกตามทฤษฎีสุขภาวะเป็นสิ่งเสริมแรงให้แสดงพฤติกรรมแล้ว แต่พฤติกรรมเอื้อสังคมของนักเรียนยังคงอยู่ นักเรียนสามารถนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ และประสบการณ์ที่ได้รับมาพัฒนาต่อยอดทางความคิด และประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับศักยภาพในการเรียนดนตรีของตนเองได้ รวมทั้งตระหนักถึงความหมายและคุณค่าของการเรียนดนตรี เมื่อนักเรียนเรียนรู้อย่างมีความสุขและเข้าใจคุณค่าของสิ่งที่เรียน ส่งผลให้นักเรียนสามารถเชื่อมโยง และนำความรู้ที่ได้รับจากการเรียนวิชาดนตรีไปใช้ในชีวิตประจำวันได้


สาระและแนวทางการจัดการเรียนรู้การอิมโพรไวส์แบบอิสระในระดับอุดมศึกษา, ฐาณิศร์ สินธารัตนะ Jan 2020

สาระและแนวทางการจัดการเรียนรู้การอิมโพรไวส์แบบอิสระในระดับอุดมศึกษา, ฐาณิศร์ สินธารัตนะ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษาเรื่องสาระและแนวทางการจัดการเรียนรู้การอิมโพรไวส์แบบอิสระในระดับอุดมศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวคิด ความหมาย แนวปฏิบัติ และพัฒนาการของการอิมโพรไวส์แบบอิสระ และ 2) ศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้การอิมโพรไวส์แบบอิสระในระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย แหล่งข้อมูลได้แก่ 1) อาจารย์ผู้เชี่ยวชาญ 2) ศิลปินผู้เชี่ยวชาญ และ 3) นักศึกษาหรือบัณฑิตที่มีประสบการณ์ 4) ชั้นเรียนที่เกี่ยวข้อง และ 5) เอกสารที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์ 2) แบบการสังเกตชั้นเรียน และ 3) แบบวิเคราะห์เอกสาร โดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหาในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1. ในบริบทสากล ดนตรีอิมโพรไวส์แบบอิสระได้ถูกพัฒนาจากกลุ่มศิลปินที่ต้องการเป็นอิสระจากกรอบการสร้างสรรค์ในช่วงยุค 1950-60s โดยมีกระบวนการสร้างสรรค์ที่เน้นการแสดงออกอย่างฉับพลัน และลื่นไหล แนวปฏิบัติของดนตรีชนิดนี้ถูกพัฒนาในวงกว้างและเริ่มเข้าสู่ประเทศไทยในปี พ.ศ.2550 จากอิทธิพลของการจัดแสดงงานศิลปะของชาวญี่ปุ่น ดนตรีอิมโพรไวส์แบบอิสระได้ส่งผลกระทบต่อนักดนตรีกลุ่มต่าง ๆ ส่วนหนึ่งเป็นอาจารย์ในมหาวิทยาลัยทำให้องค์ความรู้ ดนตรีอิมโพรไวส์แบบอิสระเติบโตในระดับอุดมศึกษาของไทย 2. สภาพการจัดการเรียนรู้ในระดับอุดมศึกษาในประเทศไทยแบ่งเป็น 4 ด้าน ได้แก่ 1) การกําหนดวัตถุประสงค์ ครอบคลุมการฝึกฝนระดับไตร่ตรองและอุตรภาวะ 2) การกําหนดเนื้อหา ครอบคลุมฐานความรู้และข้อมูลอ้างอิงที่เฉพาะเจาะจง 3) การจัดกิจกรรมและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ เป็นการสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่สอดรับกับการกำหนดวัตถุประสงค์ และ 4) การวัดผลประเมินผล ครอบคลุมการประเมินกระบวนการและผลลัพธ์


การพัฒนาชุดกิจกรรมร่างกายสร้างจังหวะโดยใช้เพลงไทยสำหรับเด็กเพื่อเสริมสร้างทักษะ เครื่องกระทบขั้นพื้นฐานสำหรับครูประถมศึกษา, กัญฐิตา โกมลพันธุ์ Jan 2020

การพัฒนาชุดกิจกรรมร่างกายสร้างจังหวะโดยใช้เพลงไทยสำหรับเด็กเพื่อเสริมสร้างทักษะ เครื่องกระทบขั้นพื้นฐานสำหรับครูประถมศึกษา, กัญฐิตา โกมลพันธุ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมร่างกายสร้างจังหวะสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาเพื่อเสริมสร้างทักษะเครื่องกระทบขั้นพื้นฐานโดยใช้เพลงไทย ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงพัฒนา 6 ขั้นตอน คือ 1) การวิเคราะห์สภาพปัญหา ศึกษาเอกสาร ทฤษฎี แนวคิด และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2) การสำรวจความต้องการชุดกิจกรรมร่างกายสร้างจังหวะโดยใช้เพลงไทยสำหรับเด็กเพื่อเสริมสร้างทักษะเครื่องกระทบขั้นพื้นฐาน 3) การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบ เก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูล 4) การพัฒนาชุดกิจกรรมร่างกายสร้างจังหวะโดยใช้เพลงไทยสำหรับเด็กเพื่อเสริมสร้างทักษะเครื่องกระทบขั้นพื้นฐาน 5) การตรวจสอบคุณภาพชุดกิจกรรมร่างกายสร้างจังหวะโดยใช้เพลงไทยสำหรับเด็กเพื่อเสริมสร้างทักษะเครื่องกระทบขั้นพื้นฐาน โดยมีกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ 1) ครูดนตรีที่รู้จักร่างกายสร้างจังหวะจำนวน 30 คน 2) ผู้เชี่ยวชาญการสอนเครื่องกระทบจำนวน 4 คน 3) ผู้เชี่ยวชาญการสอนกิจกรรมดนตรีสำหรับเด็กจำนวน 3 คน และ 6) การสรุปผลการวิจัย อภิปราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสำรวจความต้องการจำเป็นการใช้กิจกรรมดนตรีสำหรับครู แบบสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ และ แบบประเมินมาตรประมาณค่า ผลการวิจัยพบว่า ชุดกิจกรรมที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นสามารถตอบสนองความต้องการของครูดนตรีในการเป็นตัวอย่างสื่อการจัดการเรียนรู้ด้านพื้นฐานจังหวะและด้านทักษะเครื่องกระทบขั้นพื้นฐานเพื่อนำไปพัฒนาการสอน และเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมดนตรีทางเลือกสำหรับครูดนตรีระดับชั้นประถมศึกษา โดยชุดกิจกรรมที่ผู้วิจัยจัดทำมีรูปแบบเป็นหนังสือประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ คือ 1) โครงการสอนระยะยาว 2) แผนการสอนรายคาบ 3) เนื้อหาดนตรี ได้แก่ สาระทางดนตรี ด้านต่างๆ ที่ประกอบด้วยโน้ตรูปแบบทำนองและโน้ตรูปแบบจังหวะ และ ทักษะเครื่องกระทบขั้นพื้นฐานที่ประกอบด้วยการเลือกใช้มือ และซิงเกิล สโตรคโรล และ 4) บทเพลงไทย ซึ่งถูกเรียบเรียงขึ้นใหม่และจัดเรียงเนื้อหาให้เหมาะสมกับพัฒนาการของผู้เรียน โดยชุดกิจกรรมได้ผ่านการประเมินจากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญอยู่ในเกณฑ์ ดีมาก


แนวทางการจัดการเรียนการสอนขับร้องเพลงพื้นบ้านล้านนาในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามวิธีการของโคดาย สําหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย จังหวัดเชียงใหม่, จรินพร จิตต์มั่น Jan 2020

แนวทางการจัดการเรียนการสอนขับร้องเพลงพื้นบ้านล้านนาในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามวิธีการของโคดาย สําหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย จังหวัดเชียงใหม่, จรินพร จิตต์มั่น

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อสภาพการจัดการเรียนการสอนขับร้องเพลงพื้นบ้านล้านนาในกิจกรรมชมรม ของนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย จังหวัดเชียงใหม่ และ 2) นำเสนอแนวทางการจัดการเรียนการสอนขับร้องเพลงพื้นบ้านล้านนาในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามวิธีการของโคดาย สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย จังหวัดเชียงใหม่ ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร และการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญด้านเพลงพื้นบ้านล้านนา จำนวน 3 ท่าน ผู้เชี่ยวชาญด้านโคดาย จำนวน 2 ท่าน และ ครูผู้สอนกิจกรรมชมรมเพลงพื้นบ้านล้านนา จำนวน 3 ท่าน วิเคราะห์ข้อมูล โดยวิธีแจกแจงความถี่ การวิเคราะห์เนื้อหา และสร้างข้อสรุปเชิงอุปนัย และนำเสนอผลการวิจัยเป็นความเรียง ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการจัดการเรียนการสอน แบ่งออกเป็น 5 ด้าน 1) การกำหนดวัตถุประสงค์ในการสอน ประกอบด้วย ด้านองค์ความรู้ของเพลงขับร้องพื้นบ้านล้านนา ด้านการพัฒนาทักษะในการขับร้องเพลงพื้นบ้านล้านนา และด้านการพัฒนาเจตคติต่อการเรียนขับร้องเพลงพื้นบ้านล้านนา 2) การกำหนดเนื้อหาสาระ ด้านทักษะการขับร้อง ด้านบทเพลง และด้านวรรณกรรม 3) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ประกอบด้วย การบรรยาย การสาธิต การฝึกปฏิบัติ การอภิปรายกลุ่ม และกระบวนการก่อนการการถ่ายทอดทักษะการขับร้องเพลงพื้นบ้านล้านนา 4) การใช้สื่อการสอน ประกอบด้วย สื่อการสอนประเภทเครื่องดนตรี สื่อการสอนประเภทสื่อผสมและเทคโนโลยี และสื่อสิ่งพิมพ์ 5) การวัดและประเมินผล ประกอบด้วย การวัดและประเมินผลก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน โดยวิธีการวัดและประเมินผลทักษะ การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง และการวัดและประเมินผลทางเจตคติ รูปแบบการวัดและประเมินผลในรายวิชากิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามเกณฑ์ที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) 2. แนวทางการจัดการเรียนการสอน แบ่งออกเป็น 5 ด้าน ประกอบด้วย 1) การกำหนดวัตถุประสงค์ในการสอน ควรพัฒนาองค์ความรู้เพลงร้องพื้นบ้านล้านนา ทักษะการขับร้อง ทักษะการขับร้องควบคู่กับเครื่องดนตรี ทักษะการแสดง และเจตคติที่ดีต่อเพลงพื้นบ้านล้านนา 2) การกำหนดเนื้อหาสาระ ควรมีการคัดเลือกบทเพลงที่เหมาะสมกับพัฒนาการของผู้เรียน ทักษะการขับร้องเพลงพื้นบ้านล้านนา การออกเสียง การขับร้องประกอบทำนอง การขับร้องประกอบจังหวะ และวรรณกรรมเพลงร้องพื้นบ้านล้านนา 3) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน …