Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Digital Commons Network

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Adult and Continuing Education

Theses/Dissertations

2018

Institution
Keyword
Publication

Articles 91 - 103 of 103

Full-Text Articles in Entire DC Network

Listening To Our Graduate Students' Feedback: Graduate Student Exit And Alumni Surveys, Alison W. Hong-Novotney Jan 2018

Listening To Our Graduate Students' Feedback: Graduate Student Exit And Alumni Surveys, Alison W. Hong-Novotney

Cal Poly Humboldt theses and projects

Student and alumni surveys have become some of the most widely-used methods of assessment of student learning in higher education. While the majority of literature on student surveys and assessment focuses on undergraduate students, this study looks specifically at why graduate student exit and alumni surveys can be valuable tools within a comprehensive assessment plan. Listening to the feedback of current and former graduate students, and then acting upon that feedback, is crucial for the engagement and success of this unique population of students who bring their particular strengths and needs to their educational experiences. This study examined how master’s …


Treating The Writing Trauma : Managing Anxiety And Promoting Transfer Among Adult Learners With Workplace Writing Pedagogies, Jamie Ann Frankenfield Jan 2018

Treating The Writing Trauma : Managing Anxiety And Promoting Transfer Among Adult Learners With Workplace Writing Pedagogies, Jamie Ann Frankenfield

Legacy Theses & Dissertations (2009 - 2024)

Jamie Frankenfield: Treating the Writing Trauma: Managing anxiety and Promoting Transfer


Short-Term Program (Re-Entry Workshop) For Graduate International Students Returning From The United States To Kosovo, Marija Nikolic Jan 2018

Short-Term Program (Re-Entry Workshop) For Graduate International Students Returning From The United States To Kosovo, Marija Nikolic

Capstone Collection

The proposed short-term program is designed to prepare Kosovo graduate students to transition from their academic studies in the United States to their home country Kosovo. The program design is informed by the need assessment based on consulting participants through a survey and extensive professional observations and experience of the author. It is meant to address the participants’ need to get structured support in planning and managing this significant life event, coming back to Kosovo, after one to two years away pursuing Master’s degrees in their chosen field of study, and reintegrating into their country and culture. The program is …


Coming To Voice: An Analysis Of Social Justice And Transformative Learning Approaches In English Language Curriculum Design, Lucy Burriss Jan 2018

Coming To Voice: An Analysis Of Social Justice And Transformative Learning Approaches In English Language Curriculum Design, Lucy Burriss

Capstone Collection

Language is a tool for communication and an expression of cultural values, norms and beliefs. Teaching the English language is a global profession that carries social justice and ethical implications. The School of English for Engaged Social Service (SENS), a program of the International Network of Engaged Buddhists (INEB) offers an alternative and transformative English learning opportunity, which emphasizes self-reflection and strengthening interpersonal relationships to live a life of greater integrity and work towards social change. Yet, there are still social justice implications to consider in any program or initiative. This Training Course Linked Capstone (CLC) is an analysis of …


การพัฒนาโปรแกรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการสื่อสารระหว่างบุคคลสำหรับนิสิตนักศึกษา, เรข์ณพัศ ภาสกรณ์ Jan 2018

การพัฒนาโปรแกรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการสื่อสารระหว่างบุคคลสำหรับนิสิตนักศึกษา, เรข์ณพัศ ภาสกรณ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์สมรรถนะการสื่อสารระหว่างบุคคลสำหรับนิสิตนักศึกษา 2) พัฒนาโปรแกรมการศึกษานอก ระบบโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการสื่อสารระหว่างบุคคลสำหรับนิสิตนักศึกษา และ 3) นำเสนอแนวทางการประยุกต์ใช้โปรแกรมการศึกษานอก ระบบโรงเรียนฯ กลุ่มตัวอย่างมี 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) นิสิตนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตจำนวน 1,101 คน ใช้วิธีการคัดเลือกโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นหลาย ขั้นตอน 2) นักศึกษาที่เข้าร่วมโปรแกรมฯจำนวน 30 คน 3) ผู้ทรงคุณวุฒิและตัวแทนนิสิตนักศึกษาจำนวน 20 คน ในการสนทนากลุ่ม การวิเคราะห์ ข้อมูลใช้การวิเคราะห์สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (x̄) ร้อยละ (%) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การวิเคราะห์ค่า t-test และ p-value ร่วมกับการ วิเคราะห์เนื้อหา ผลวิจัยพบว่า 1. ผลการวิเคราะห์สมรรถนะการสื่อสารระหว่างบุคคลสำหรับนิสิตนักศึกษาด้านแรงจูงใจ ความรู้ และทักษะ โดยรวมอยู่ ในระดับมาก 2. โปรแกรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนฯ ประกอบด้วย 8 กระบวนการ ได้แก่ 1) การกำหนดพื้นฐานสำหรับการพัฒนาโปรแกรม 2) การวิเคราะห์สถานการณ์ของชุมชนและกลุ่มผู้รับบริการ 3) การพิจารณาผลลัพธ์ที่พึงประสงค์จากการพัฒนาโปรแกรม 4) การกำหนดแหล่งทรัพยากร และการสนับสนุน 5) การออกแบบแผนการเรียนรู้ 6) โปรแกรมของการปฏิบัติงาน 7) ความน่าเชื่อถือของการใช้ทรัพยากร 8) การสื่อสารคุณค่าของ โปรแกรม และ 12 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการและเหตุผล 2) วัตถุประสงค์ 3) เนื้อหาสาระ 4) คุณสมบัติของผู้เรียน 5) คุณสมบัติของผู้สอน 6) วิธีการเรียนรู้ 7) กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 8) เทคนิคการเรียนรู้ 9) สื่อการเรียนรู้ 10) การประเมินผลการเรียนรู้ 11) …


แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านการท่องเที่ยวโดยชุมชน, โชติรส สุวรรณรัตน์ Jan 2018

แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านการท่องเที่ยวโดยชุมชน, โชติรส สุวรรณรัตน์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยชิ้นนี้เป็นงานวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาบริบทของชุมชนย่าน เมืองเก่า จังหวัดสงขลา ทีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา (2) เพื่อศึกษาทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผ่านการท่องเที่ยวโดยชุมชน (3)เสนอแนวทางการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ตลอด ชีวิตผ่านการท่องเที่ยวโดยชุมชน โดยทำการวิจัยทั้งหมด 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่1ศึกษาบริบทของ ชุมชนย่านเมืองเก่า จังหวัดสงขลา ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา โดยศึกษาจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ในชุมชนทั้งหมด 17 คน เครื่องมือที่ใช้คือการสัมภาษณ์จากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในชุมชนย่านเมืองเก่า จังหวัดสงขลา ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านการท่องเที่ยวโดยชุมชน โดยมี กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 400 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต ขั้นตอน ที่3 เสนอแนวทางการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านการท่องเที่ยวโดย ชุมชน ผลการวิจัยพบว่า ชุมชนมีบริบทการจัดการศึกษาในชุมชน มีสถานที่และบุคคลที่สามารถ พัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ได้ เมื่อศึกษาทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนักท่องเที่ยวพบว่ามีทักษะการ ค้นหาคาตอบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (x̄ = 4.29) และทักษะความคิดสร้างสรรค์มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ( x̄ = 2.54) จากนั้นผู้วิจัยนาผลที่ได้จากการวิจัยมาพัฒนาเป็นแนวทางในการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริม ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านการท่องเที่ยวโดยชุมชนโดยประกอบด้วย 3 แนวทาง ได้แก่ 1.แนว ทางการจัดการศึกษาในระบบโรงเรียน ได้แก่การส่งเสริมให้โรงเรียนมาเรียนรู้ร่วมกับชุมชน 2.แนว ทางการจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียน ได้แก่ การส่งเสริมให้การศึกษานอกโรงเรียนเข้าไปมีส่วน ร่วมในชุมชน และ 3.แนวทางการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ได้แก่ ชุมชนจัดการศึกษาโดยให้ใช้สิ่งที่ มีในชุมชนมาจัดการศึกษาในชุมชน


การพัฒนาโปรแกรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อเสริมสร้างศักยภาพอาสาสมัครส่งเสริมการทำงานป้องกันแก้ไขปัญหาเอชไอวี/เอดส์, ลาวัลย์ เวชอภิกุล Jan 2018

การพัฒนาโปรแกรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อเสริมสร้างศักยภาพอาสาสมัครส่งเสริมการทำงานป้องกันแก้ไขปัญหาเอชไอวี/เอดส์, ลาวัลย์ เวชอภิกุล

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์บริบทการปฏิบัติงานและความต้องการเสริมสร้างศักยภาพของอาสาสมัครส่งเสริมการทำงานป้องกันแก้ไขปัญหาเอชไอวี/เอดส์ 2) พัฒนาโปรแกรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อเสริมสร้างศักยภาพอาสาสมัครส่งเสริมการทำงานป้องกันแก้ไขปัญหาเอชไอวี/เอดส์ และ 3) จัดทำข้อเสนอแนะในการนำโปรแกรมไปสู่การปฏิบัติและขยายผลไปสู่พื้นที่อื่น ทำการศึกษากับกลุ่มอาสาสมัครของมูลนิธิโอโซนจังหวัดสงขลา จำนวน 10 คน และเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลอาสาสมัคร รวมถึงกลุ่มผู้บุกเบิกการทำงานในประเทศไทย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก แบบสังเกต และประเด็นการสนทนากลุ่ม ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลศึกษา พบว่า 1) ศักยภาพที่อาสาสมัครต้องการได้รับการส่งเสริม แบ่งเป็น 4 ด้าน (1) บุคลิกภาพและการจัดการตนเอง (2) ความรู้ (3) ทักษะ และ (4) ทัศนคติ 2) โปรแกรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อเสริมสร้างศักยภาพอาสาสมัครส่งเสริมการทำงานป้องกันแก้ไขปัญหาเอชไอวี/เอดส์ ได้โปรแกรมที่ประกอบด้วย กิจกรรมการเรียนรู้ 8 กิจกรรม ได้แก่ (1) การสร้างบรรยากาศและความไว้วางใจซึ่งกันและกันภายในทีม (2) การทำความเข้าใจหลักการและกำหนดกติกาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนร่วมกัน (3) การทบทวนและประเมินศักยภาพที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานของอาสาสมัคร (4) การออกแบบและวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง (5) การแลกเปลี่ยนเทคนิคและประสบการณ์ในการจัดการตนเอง (6) การทบทวนความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน (7) การฝึกทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานผ่านการลงมือปฏิบัติจริง และ (8) การสรุปทบทวนและสะท้อนคิดเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้และพัฒนา 3) ข้อเสนอแนะในการนำโปรแกรมไปปฏิบัติและขยายผล โดยแบ่งเป็นข้อเสนอแนะต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ (1) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องระดับผู้บริหารองค์กรและฝ่ายพัฒนาศักยภาพขององค์กร ซึ่งเป็นผู้กำหนดแนวทางการนำโปรแกรมไปปฏิบัติและขยายผลโดยทำหน้าที่กำหนดผู้รับผิดชอบและสนับสนุนการเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้ทำหน้าที่ผู้จัดกระบวนการเรียนรู้ให้แก่อาสาสมัคร (2) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องระดับผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นผู้นำโปรแกรมไปปฏิบัติโดยตรงจึงต้องทำความเข้าใจหลักการของการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนและเปิดใจยอมรับซึ่งกันและกันจึงจะทำให้เกิดการเรียนรู้ได้ และ (3) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในหน่วยงานสนับสนุนระดับนโยบาย


การพัฒนาตัวบ่งชี้การเรียนรู้ตลอดชีวิตของพลเมืองไทยด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน, ศรัญญา รณศิริ Jan 2018

การพัฒนาตัวบ่งชี้การเรียนรู้ตลอดชีวิตของพลเมืองไทยด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน, ศรัญญา รณศิริ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนาที่ใช้การศึกษาแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) โดยมีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) พัฒนาตัวบ่งชี้การเรียนรู้ตลอดชีวิตของพลเมืองไทยด้วยกระบวนมีส่วนร่วมของชุมชน 2) ตรวจสอบคุณภาพตัวบ่งชี้การเรียนรู้ตลอดชีวิตของพลเมืองไทยด้วยกระบวนมีส่วนร่วมของชุมชน และ 3) จัดทำคู่มือการนำตัวบ่งชี้การเรียนรู้ตลอดชีวิตที่พัฒนาไปสู่การปฏิบัติจริง การศึกษาเชิงคุณภาพลงพื้นที่ชุมชนจำนวน 6 ชุมชน ได้แก่ 1) บ้านหนองโน ต.หนองโน จ.สระบุรี 2) บ้านด่านสิงขร ต.คลองวาฬ จ.ประจวบคีรีขันธ์ 3) บ้านคีรีวง ต.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช 4) บ้านชีทวน ต.ชีทวน จ.อุบลราชธานี 5) บ้านเชิงดอย ต.เชิงดอย จ.เชียงใหม่ และ 6) ชุมชนเขายายดา ต.ตะพง จ.ระยอง การศึกษาเชิงปริมาณเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 4,828 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) ตัวบ่งชี้การเรียนรู้ตลอดชีวิตของพลเมืองไทย ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ 1.1) เจตคติต่อการเรียนรู้ ประกอบด้วย เห็นคุณค่า ความสำคัญและความจำเป็นของการเรียนรู้ มีความสุขกับการเรียนรู้ และมีความต้องการที่จะพัฒนาตนเองและเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 1.2) ทักษะและความสามารถในการเรียนรู้ ประกอบด้วย มีความสามารถทางด้านภาษาไทย อ่านออก เขียนได้ คิดคำนวณเบื้องต้นได้ มีความสามารถพื้นฐานด้านภาษาต่างประเทศหรือภาษาประเทศเพื่อนบ้าน สามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ในชีวิตประจำวัน มีความสามารถในการสื่อสาร และใช้ความรู้ในการแก้ปัญหา 1.3) ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง ประกอบด้วย กำหนดเป้าหมายและวางแผนการเรียนรู้ด้วยตนเอง เลือกวิธีการเรียนรู้ด้วยตนเอง รับผิดชอบตนเองและพึ่งตนเองได้ สามารถตั้งคำถามอย่างมีเหตุผล สามารถสืบค้นและแสวงหาข้อมูลที่สนใจได้ จัดลำดับความสำคัญของสิ่งที่จะเรียนรู้ได้ สรุปประเด็นการเรียนรู้ได้ สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ให้เกิดประโยชน์ได้ 1.4) มีลักษณะนิสัยที่สนับสนุนการเรียนรู้ ประกอบด้วย ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินับ รอบคอบในการเรียนรู้ มีความสามารถในการปรับตัวให้เกิดการเรียนรู้ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ มีเป้าหมายการเรียนรู้ในชีวิต สนับสนุนให้ผู้อื่นได้เรียนรู้ และมีความเป็นจิตอาสาแนะนำเพื่อให้ความรู้ และ1.5) ความรู้ความสามารถที่จำเป็นต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ประกอบด้วย มีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมรอบตัว มีความรู้เกี่ยวกับบริบทของชุมชนที่อยู่อาศัย มีความรู้และเข้าใจในวัฒนธรรมประเพณีในพื้นที่ …


I, Too, Am A Woman: An Emancipatory Text On The Intersections Of Race, Gender, And Sexuality, Michelle M. Allen Jan 2018

I, Too, Am A Woman: An Emancipatory Text On The Intersections Of Race, Gender, And Sexuality, Michelle M. Allen

Electronic Theses and Dissertations

This inquiry builds upon Black Feminism and Critical Race Feminist frameworks by exploring the juxtaposition between Black Women and Queer Black Women. It is also an exploration of the similarities between Queer Black Women and Black Women and how they interact with femininity and masculinity, patriarchy, and heteronormativity. Claiming digital space through podcasting, it honors the power of counter narratives by employing autoethnographical story telling. It examines the multivalent ways in which critical geographies, safe spaces, and homeplaces nurture or alienate Black Women on the basis of sexual orientation, gender performance, race, and social class. Employing tenets of Black Feminist …


Impact Of Experiential Learning In Cross Disciplinary Projects, Cassandra M. Cameron Jan 2018

Impact Of Experiential Learning In Cross Disciplinary Projects, Cassandra M. Cameron

Williams Honors College, Honors Research Projects

In higher education, immersion in real-world experience is essential for students’ professional development. This paper seeks to examine the facets of importance within experiential learning while participating in cross disciplinary projects. First, an anecdotal experience of participating in a national financial competition as transcribed by the author is provided in Section I. This will provide personal reflection of the various benefits associated with the project. Section II follows with a review of relevant literature to connect the aforementioned benefits to experimental and empirical evidence. Section III provides the manuscript submitted to and chosen as a finalist of the Financial Service …


Análisis Del Proceso De Ingreso A La Carrera Docente En Educación Básica Secundaria En Colombia, Frente A Otros Países Latinoamericanos, Francy Lorena Cano Beltrán Jan 2018

Análisis Del Proceso De Ingreso A La Carrera Docente En Educación Básica Secundaria En Colombia, Frente A Otros Países Latinoamericanos, Francy Lorena Cano Beltrán

Economía

La educación en Colombia, ha sufrido bastantes transiciones a lo largo de su historia debido a diferentes falencias, las cuales algunas de ellas fueron halladas en los resultados de las pruebas nacionales realizadas a los estudiantes. Entre ellas, se ha determinado que el profesorado colombiano influye considerablemente en el aprendizaje del individuo. La problemática a abordar es “Ingreso a la carrera Docente” en entidades oficiales y las dificultades que poseen los docentes al acceder a estas plazas vacantes en el magisterio.

La teoría de Capital humano hace referencia a “el conjunto de las capacidades productivas que un individuo adquiere por …


Teacher And Administrator Perceptions Of The Teacher Excellence And Support System (Tess) In Arkansas, Allison Louise Byford Jan 2018

Teacher And Administrator Perceptions Of The Teacher Excellence And Support System (Tess) In Arkansas, Allison Louise Byford

Graduate Theses and Dissertations

The purpose of this study was to investigate differences in Arkansas teachers’ and building-level administrators’ perceptions regarding the purpose of the Arkansas TESS teacher evaluation system, whether TESS authentically assesses teacher effectiveness, how teacher evaluation data are used, and how the TESS process supports learner-centered professional development. Additionally, the relationship of teacher and administrator demographics on their perceptions of TESS was explored. The results of this study highlight the differences in perceptions in all areas questioned along with misalignment in perceptions among teachers. Overall, the study points toward the need for clear communication and the cultivation of relationships among building …


A Workforce Development Study To Explore Current Demand For Industry-Recognized Credentials, Debra Kay Smiley Jan 2018

A Workforce Development Study To Explore Current Demand For Industry-Recognized Credentials, Debra Kay Smiley

Educational Leadership & Workforce Development Theses & Dissertations

In this descriptive research study, I identified industry-recognized workforce credentials that are or will be in high demand by employers operating in Virginia. I surveyed a targeted group of Virginia workforce development stakeholders including 17 Virginia Community College System workforce development leaders who represent each local community college, 47 Virginia local and regional economic development directors, and 11 Virginia Workforce Innovation Opportunity Act directors. Due to the economic disparity between rural and urban areas, I also examined the contrast between high-demand credentials needed by employers in rural and urban areas.

The findings revealed that the top two industry-recognized credentials were …