Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Medicine and Health Sciences Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

2014

Nursing

Journal

Institution
Keyword
Publication

Articles 1 - 30 of 57

Full-Text Articles in Medicine and Health Sciences

Improving The Patient Experience Through Nurse Leader Rounds, Judy C. Morton, Jodi Brekhus, Megan Reynolds, Anna Kay Dykes Nov 2014

Improving The Patient Experience Through Nurse Leader Rounds, Judy C. Morton, Jodi Brekhus, Megan Reynolds, Anna Kay Dykes

Patient Experience Journal

While providing exceptional care experiences to patients is a priority for many organizations, creating and sustaining measureable success in this area remains a challenge for many. This article examines the impact of implementing nurse leader rounds on patient perception of care in the hospitals and emergency departments of a large healthcare system. Nurse leader rounds were implemented as a system-wide improvement practice at Providence Health & Services in 2012. Analysis of Press Ganey and Hospital Consumer Assessment of Healthcare Providers and Systems (HCAHPS) survey results indicates that implementation of nurse leader rounds is associated with statistically significant improvement in patient …


Building The Research Enterprise In The Academic Environment:, Geraldine Polly Bednash, Jane Kirschling, Eileen T. Breslin, Robert Rosseter Oct 2014

Building The Research Enterprise In The Academic Environment:, Geraldine Polly Bednash, Jane Kirschling, Eileen T. Breslin, Robert Rosseter

Quality Advancement in Nursing Education - Avancées en formation infirmière

The preponderance of nursing research conducted in the United States occurs in schools of nursing. Accordingly, a major role for academic leaders in nursing education is the development of a resource base to support and expand the research mission of the nursing program. The intersection of research and practice is also an essential element for assuring the relevance of nursing research and advancing the application of the evidence generated by nursing scientists. The following paper presents an introduction to nursing research in the U.S. with an emphasis on the educational and operational resources needed to maintain a robust research enterprise …


Interprofessional Simulation Learning With Nursing And Pharmacy Students: A Qualitative Study, Pauline Paul, Joanne K. Olson, Cheryl Sadowski, Brian Parker, Angele Alook, Deirdre Jackman, Cheryl Cox, Stewart Maclennan Oct 2014

Interprofessional Simulation Learning With Nursing And Pharmacy Students: A Qualitative Study, Pauline Paul, Joanne K. Olson, Cheryl Sadowski, Brian Parker, Angele Alook, Deirdre Jackman, Cheryl Cox, Stewart Maclennan

Quality Advancement in Nursing Education - Avancées en formation infirmière

Health science students are increasingly learning in simulated situations within their own disciplines, but interprofessional simulation learning (ISL) does not occur as often and is rarely investigated. This research explored perceptions of undergraduate nursing (n=5) and pharmacy (n=4) students with respect to how ISL contributed to discipline-specific learning, to learning about the other profession, and to the development of interprofessional skills. The students were exposed to three ISL activities with data gathered from observation of the simulation sessions, individual interviews, and field notes. Content analysis was conducted. Student participants described the ISL activities as a positive learning experience. They learned …


Exploration Des Facteurs Influençant La Mobilisation Des Savoirs Par Une Pensée Critique Chez Des Étudiantes Infirmières Bachelières Lors De Stages Cliniques, Kathleen Lechasseur, Ginette Lazure, Louise Guilbert Oct 2014

Exploration Des Facteurs Influençant La Mobilisation Des Savoirs Par Une Pensée Critique Chez Des Étudiantes Infirmières Bachelières Lors De Stages Cliniques, Kathleen Lechasseur, Ginette Lazure, Louise Guilbert

Quality Advancement in Nursing Education - Avancées en formation infirmière

Pour contribuer activement à la santé des personnes, les infirmières doivent faire appel à une diversité de savoirs dans leur pratique. Face à l’augmentation constante de la complexité des soins, la formation de la relève comporte des enjeux majeurs. L’étude visait à caractériser le processus de mobilisation des savoirs par une pensée critique chez des étudiantes infirmières bachelières en situation de soins en vue de mieux comprendre son déploiement et de le soutenir. Une approche qualitative, inspirée de la théorisation ancrée a mis au jour certains des facteurs d’influence sur ce processus en recourant à un entretien d’explicitation mené auprès …


Clinical Nursing Reasoning In Nursing Practice: A Cognitive Learning Model Based On A Think Aloud Methodology, Johanne Goudreau, Louise Boyer, Dimitri Létourneau Oct 2014

Clinical Nursing Reasoning In Nursing Practice: A Cognitive Learning Model Based On A Think Aloud Methodology, Johanne Goudreau, Louise Boyer, Dimitri Létourneau

Quality Advancement in Nursing Education - Avancées en formation infirmière

Background. The current context of increasingly complex nursing care requires a high level of clinical reasoning in nursing practice. Still, teaching clinical reasoning in nursing remains a challenge for educators in the field. Although several studies have been conducted to try to understand clinical reasoning in nursing, neither its developmental stages nor the corresponding critical milestones have been uncovered. Therefore, nursing educators cannot rely on a cognitive learning model (a description of how people learn and develop a specific competency) to facilitate the learning of this crucial competency.

Objectives. This study was conducted to develop a cognitive learning model of …


Story Based Learning: A Student Centred Practice-Oriented Learning Strategy, Karen Mackinnon, Lynne E. Young Oct 2014

Story Based Learning: A Student Centred Practice-Oriented Learning Strategy, Karen Mackinnon, Lynne E. Young

Quality Advancement in Nursing Education - Avancées en formation infirmière

Story based learning (SBL) has evolved as a way to promote quality in nursing education by assisting faculty to develop a student-centred learning environment. SBL is a teaching/learning strategy that also strengthens learners’ capacities to provide quality nursing care. Health professional education has been identified as a key contributor to advancing quality care. Key documents identify the pillars of quality health professional education as client–centred care, inter-professional education, teamwork and collaborative learning, knowledge mobilization and evidence-based practice, awareness of the limits of one’s knowledge as a foundation for reflective practice and life-long learning, and mastery of a field of practice. …


Confronting The Social Mandate For Nursing Scholarship – One School Of Nursing’S Journey., Susan M. Duncan, Star Mahara, Victoria Holmes Oct 2014

Confronting The Social Mandate For Nursing Scholarship – One School Of Nursing’S Journey., Susan M. Duncan, Star Mahara, Victoria Holmes

Quality Advancement in Nursing Education - Avancées en formation infirmière

The move to advance the qualification of nurses has necessitated the expansion of baccalaureate degree level nursing education to colleges and other less research-intensive post-secondary institutions in Canada and beyond. Shifts in the post-secondary institutional contexts of nursing education necessitate a re-thinking of the mandate and purpose of scholarship in nursing and how it can be sustained. Over a span of forty years, Thompson Rivers University School of Nursing has evolved from a community college program to one situated in a university college, and most recently within a new university. In this paper, we describe the purpose and process of …


Case Report-Maternal Death Due To Rupture Of The Uterus, Sumia Bari Sep 2014

Case Report-Maternal Death Due To Rupture Of The Uterus, Sumia Bari

Journal of Asian Midwives (JAM)

Objective: To present the case report of a woman who died during her third delivery due to the mismanagement of her labour. The woman had had one previous caesarean section and tried for vaginal delivery with injudicious use of oxytocin, leading to a rupturing of the uterus and death.
Methods & Result: During a maternal death audit it was found that a 28-years old woman (para 2) Meena (name changed to maintain anonymity) had died. Meena had one previous normal vaginal delivery and a second delivered by caesarean section. In her third pregnancy she did not take have any antenatal …


Birth Centre Management And Business Skill Training For Community Midwives Of Pakistan, Laila Lalji, Laila Akbar Ali, Marina Baig, Rozina Sewani, Arusa Lakhani, Karyn Kaufman, Rafat Jan Sep 2014

Birth Centre Management And Business Skill Training For Community Midwives Of Pakistan, Laila Lalji, Laila Akbar Ali, Marina Baig, Rozina Sewani, Arusa Lakhani, Karyn Kaufman, Rafat Jan

Journal of Asian Midwives (JAM)

The Community Midwifery program was introduced in 2007 across Pakistan with the idea that the trained Community Midwives (CMWs) will be deployed back to their ‘native’ rural communities. Hence, they are not employed by government rather they must earn their income by charging fees for their services. It is expected from them to attract clients, establish birth clinics and operate as a small business to support and sustain them financially. However, the CMW training program only teaches students about antenatal, intranatal, postnatal and newborn care, family planning services and awareness of community dynamics and does not include content about setting …


Midwifery In India And Its Roadmap, Manju Chhugani Sep 2014

Midwifery In India And Its Roadmap, Manju Chhugani

Journal of Asian Midwives (JAM)

Healthy women are the key to the health of any nation. Midwifery in India has climbed up the ladder of progression from before independence till the present day. In the pre-independence era, maternal and newborn care was given by indigenous dais who not only helped during childbirth but also acted as consultants for any condition of the mother related to birth. They were midwives in the literal sense. Over the time, midwifery in India has broadened to the presence of a skilled birth attendant during childbirth. The maternal health status of women and maternal mortality are closely related to the …


Exploring Adolescent Reproductive Health Knowledge, Perceptions, And Behavior, Among Students Of Non-Government Secondary Schools Supported By Brac Mentoring Program In Rural Bangladesh, Bachera Aktar, Malabika Sarker, Andrew Jenkins Sep 2014

Exploring Adolescent Reproductive Health Knowledge, Perceptions, And Behavior, Among Students Of Non-Government Secondary Schools Supported By Brac Mentoring Program In Rural Bangladesh, Bachera Aktar, Malabika Sarker, Andrew Jenkins

Journal of Asian Midwives (JAM)

Adolescence is the transition period from childhood to adulthood. Since Bangladesh is such a conservative society, reproductive health education for adolescents has not been widely introduced. Very small adolescent health components are included in the secondary and higher secondary school curricula. The BRAC Mentoring Program provides mentorship training to secondary school pupils to develop them as peer leaders. However, this program does not provide adolescent reproductive health education. Therefore, a study, supported by BRAC Education Program in rural Bangladesh, was conducted to explore the current status of reproductive health knowledge, perceptions and practice among the students of secondary schools. This …


Provision Of Mentorship Services For Midwives Working In Remote Areas In The Workplaces Of Afghanistan, Sabera Turkmani, Fatima Gohar, Pashtoon A. Zyaee, Mursal Musawi, Mahmood Azimi Sep 2014

Provision Of Mentorship Services For Midwives Working In Remote Areas In The Workplaces Of Afghanistan, Sabera Turkmani, Fatima Gohar, Pashtoon A. Zyaee, Mursal Musawi, Mahmood Azimi

Journal of Asian Midwives (JAM)

Background: Midwives working in remote facilities have little opportunity to receive technical support and coaching services. To close this gap and support rural midwives the Afghan Midwives Association (AMA) designed a field-based mentorship program for midwives working in remote areas.
Methods: The process included five stages:
1. Conduct base line assessment of mentees (midwives) and health facilities.
2. Identify and select of mentees through competitive process.
3. Provide on-the-job coaching and mentoring services to the mentees.
4. Assess the progress of the midwives regularly using existing quality assurance performance standards.
5. End-line / final evaluation
Results: That results of assessments …


News & Events Sep 2014

News & Events

Journal of Asian Midwives (JAM)

No abstract provided.


Welcome To The First Journal Of Asian Midwives, Rafat Jan Sep 2014

Welcome To The First Journal Of Asian Midwives, Rafat Jan

Journal of Asian Midwives (JAM)

No abstract provided.


ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและพฤติกรรมการออกกำลังกายของ, ณีรนุช เกาะกายสิทธิ์, มยุรี นิรัตธราดร, คมสันต์ สุวรรณฤกษ์ Sep 2014

ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและพฤติกรรมการออกกำลังกายของ, ณีรนุช เกาะกายสิทธิ์, มยุรี นิรัตธราดร, คมสันต์ สุวรรณฤกษ์

Journal of Nursing Science Chulalongkorn University (วารสารพยาบาลศาสตร์)

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และพฤติกรรมการออกกกําลังกายของสตรีก่อนวัยทอง\n \nรูปแบบการวิจัย: การวิจัยแบบกึ่งทดลอง\n\n วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ สตรีก่อนวัยทองอายุ 30-45 ปี ที่มีคุณสมบัติตามกําหนด จํานวน 66 คน คัดเลือกโดยการสุ่มอย่างง่าย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 33 คน กลุ่มทดลอง ได้รับโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตน และกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ ใช้ในการทดลอง คือ โปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตน ประกอบด้วย คู่มือการดูแลตนเองสําหรับ สตรีก่อนวัยทอง แผนการสอน และคู่มือการดําเนินกิจกรรม เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และแบบสอบถามพฤติกรรมการออกกําลังกาย มีค่า CVI เท่ากับ .80 และ .87 มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค (Cronbach's alpha coefficient)\nเท่ากับ . 80 และ . 84 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบค่าที่ ผลการวิจัย: 1) สตรีก่อนวัยทองที่ได้รับโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตน มีคะแนนพฤติกรรม การบริโภคอาหารและพฤติกรรมการออกกําลังกาย สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 2) สตรีก่อนวัยทองที่ได้รับโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตน มีคะแนน พฤติกรรมการบริโภคอาหารและพฤติกรรมการออกกําลังกาย สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ .01\n\nสรุป: โปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนส่งผลต่อพฤติกรรมการรับประทานอาหารและพฤติกรรม การออกกําลังกายในสตรีก่อนวัยทอง ทําให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในทางบวก โดยมีพฤติกรรมการ รับประทานอาหารและพฤติกรรมการออกกําลังกายที่เหมาะสมเพิ่มขึ้น\n


ผลของโปรแกรมการวางแผนจำหน่ายต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองเพื่อป้องกันอาการหืดกำเริบของเด็กวัยเรียนโรคหอบหืด, ปริศนา แผ้วชนะ, วีณา จีระแพทย์ Sep 2014

ผลของโปรแกรมการวางแผนจำหน่ายต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองเพื่อป้องกันอาการหืดกำเริบของเด็กวัยเรียนโรคหอบหืด, ปริศนา แผ้วชนะ, วีณา จีระแพทย์

Journal of Nursing Science Chulalongkorn University (วารสารพยาบาลศาสตร์)

วัตถุประสงค์: 1) เปรียบเทียบพฤติกรรมการจัดการตนเองเพื่อป้องกันอาการหืดกําเริบของเด็กวัยเรียน โรคหอบหืด ก่อนและหลังได้รับโปรแกรมการวางแผนจําหน่าย และ 2) เปรียบเทียบพฤติกรรม การจัดการตนเองเพื่อป้องกันอาการหืดกําเริบของเด็กวัยเรียนโรคหอบหืดระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรม การวางแผนจําหน่ายกับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ\n \nรูปแบบการวิจัย: การวิจัยแบบกึ่งทดลอง\n \nวิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยเด็กวัยเรียนโรคหอบหืด จํานวน 40 คน อายุ 7-12 ปี ที่มา รับการรักษาแผนกผู้ป่วยใน โรงพยาบาลจังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่าง 20 คนแรก เป็นกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่าง 20 คนหลัง เป็นกลุ่มทดลอง จับคู่ให้เหมือนกันด้าน อายุ และเพศ เครื่องมือที่ใช้ในการ ทดลองประกอบด้วย โปรแกรมการวางแผนจําหน่าย สถานการณ์จําลอง และสมุดพกแนวทางปฏิบัติตัว เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถามพฤติกรรมการจัดการตนเอง ซึ่งผ่านการตรวจสอบ ความตรงตามเนื้อหา และมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .87 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที\n \nผลการวิจัย: 1) พฤติกรรมการจัดการตนเองเพื่อป้องกันอาการหืดกําเริบของเด็กวัยเรียนโรคหอบหืด หลังได้รับโปรแกรมการวางแผนการจําหน่าย ดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 2) พฤติกรรมจัดการตนเองเพื่อป้องกันอาการหืดกำเริบของเด้กวัยเรียนโรคหอบหืด กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการวางแผนการจําหน่าย ดีกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05\n\nสรุป: การวางแผนจําหน่ายที่ใช้สถานการณ์จําลองและสมุดพกแนวทางปฏิบัติตัว เป็นกิจกรรมการ พยาบาลที่มีประสิทธิภาพต่อการเสริมสร้างพฤติกรรมการจัดการตนเองในเด็กวัยเรียน\n


ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ผ่านทางบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนต่อพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองของนักศึกษาหญิงในระดับปริญญาตรี, สายใหม ตุ้มวิจิตร, นาถสุดา โชติวัฒนากุลชัย, ฉวี มากพุ่ม, สุลี ทองวิเชียร Sep 2014

ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ผ่านทางบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนต่อพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองของนักศึกษาหญิงในระดับปริญญาตรี, สายใหม ตุ้มวิจิตร, นาถสุดา โชติวัฒนากุลชัย, ฉวี มากพุ่ม, สุลี ทองวิเชียร

Journal of Nursing Science Chulalongkorn University (วารสารพยาบาลศาสตร์)

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ผ่านทางบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนต่อพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองของนักศึกษาหญิงในระดับปริญญาตรี \n\nรูปแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาหญิงในระดับปริญญาตรี จํานวน 60 ราย แบ่งเป็นกลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 30 ราย กลุ่มควบคุมได้รับแผ่นพับวิธีการตรวจเต้านมด้วยตนเอง กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ผ่านทางบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยจับคู่ ระดับความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านม และการตรวจเต้านมด้วยตนเอง เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ โปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ผ่านทางบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เก็บรวบรวมข้อมูลโดย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และแบบสอบถามพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วย ตนเอง ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน มีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา (CVI) เท่ากับ .83 ตรวจสอบความเที่ยงโดยหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาคได้เท่ากับ .93 สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที (t-test)\n\nผลการวิจัย: 1) ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองของกลุ่มทดลองภายหลังได้รับ โปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ผ่านทางบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สูงกว่าก่อน ได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการตรวจเต้านม ด้วยตนเองของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05\n \nสรุป: โปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ผ่านทางบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนส่งผล ให้นักศึกษาหญิงในระดับปริญญาตรีมีพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองเพิ่มขึ้นและเพิ่มมากกว่าการ ให้ความรู้ทางแผ่นพับ\n


ผลของการใส่เสื้อกระชับแผลและประคองทรงต่อความสุขสบายและภาพลักษณ์ของผู้ป่วยหลังผ่าตัดเต้านมออก, เบญจรัตน์ ธรรมปรีชาพงศ์, กนกพร นาคะรัต, รุ่งนภา ศรีสังข์, อพัชชา อิทธิยาวุฒิ Sep 2014

ผลของการใส่เสื้อกระชับแผลและประคองทรงต่อความสุขสบายและภาพลักษณ์ของผู้ป่วยหลังผ่าตัดเต้านมออก, เบญจรัตน์ ธรรมปรีชาพงศ์, กนกพร นาคะรัต, รุ่งนภา ศรีสังข์, อพัชชา อิทธิยาวุฒิ

Journal of Nursing Science Chulalongkorn University (วารสารพยาบาลศาสตร์)

วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความสุขสบายและภาพลักษณ์ระหว่างผู้ป่วยที่ใส่เสื้อกระชับแผลและ ประคองทรงหลังผ่าตัดเต้านมออกกับผู้ป่วยที่ได้รับการปิดแผลด้วยวัสดุปิดแผลตามปกติ\n\n รูปแบบการวิจัย: การวิจัยแบบกึ่งทดลอง\n \nวิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่รับไว้ในโรงพยาบาลเพื่อรับการผ่าตัดเต้านมออก จํานวน 30 ราย แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 15 ราย กลุ่มทดลองได้รับการใส่เสื้อกระชับแผล และประคองทรงหลังผ่าตัด ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการปิดแผลด้วยวัสดุปิดแผลแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ ในการทดลอง คือ เสื้อกระชับแผลและประคองทรง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบ ประเมินความสุขสบายและแบบประเมินภาพลักษณ์ ซึ่งพัฒนาขึ้นโดยผู้วิจัยและผ่านการตรวจสอบความ ตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ นํามาหาดัชนีความตรงตามเนื้อหาได้ค่า CVI เท่ากับ .86 และ .86 ตาม ลําดับ หาความเที่ยงโดยคํานวณสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาคได้ค่าเท่ากับ .62 และ .77 ตามลําดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติทดสอบที\n \nผลการวิจัย: ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ใส่เสื้อกระชับแผลและประคองทรงหลังผ่าตัดเต้านมมีคะแนนเฉลี่ย ความสุขสบายและภาพลักษณ์สูงกว่ากลุ่มที่ปิดแผลด้วยวัสดุปิดแผลตามปกติอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .05\n\nสรุป: การสวมใส่เสื้อกระชับแผลและประคองทรงส่งผลให้ผู้ป่วยมีความสุขสบายมากขึ้นและมีภาพลักษณ์ ที่ดีขึ้น พยาบาลที่ให้การดูแลผู้ป่วยผ่าตัดเต้านมจึงควรนําเสื้อกระชับแผลและประคองทรงไปใช้เพื่อให้ ผู้ป่วยหลังผ่าตัดเต้านมมีความสุขสบายและมีภาพลักษณ์ที่ดี\n


สมรรถนะพยาบาลเวชศาสตร์ฟื้นฟู, อนัญญา คะสะติ, กัญญดา ประจุศิลป Sep 2014

สมรรถนะพยาบาลเวชศาสตร์ฟื้นฟู, อนัญญา คะสะติ, กัญญดา ประจุศิลป

Journal of Nursing Science Chulalongkorn University (วารสารพยาบาลศาสตร์)

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาสมรรถนะพยาบาลเวชศาสตร์ฟื้นฟู\n \nรูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงพรรณนา โดยใช้เทคนิค EDFR\n \nวิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟู จํานวน 21 คน ประกอบด้วย แพทย์ผู้เชี่ยวชาญจากราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูแห่งประเทศไทย จํานวน 2 คน ผู้เชี่ยวชาญ จากชมรมพยาบาลเวชศาสตร์ฟื้นฟแห่งประเทศไทย จํานวน 11 คน ผู้บริหารทางการพยาบาลระดับ หัวหน้าแผนกพยาบาลเวชศาสตร์ฟื้นฟู จํานวน 4 คน และอาจารย์ผู้สอนหลักสูตรเฉพาะทางพยาบาล เวชศาสตร์ฟื้นฟู จํานวน 3 คน วิธีดําเนินการวิจัยประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 สัมภาษณ์ เกี่ยวกับสมรรถนะพยาบาลเวชศาสตร์ฟื้นฟู ขั้นตอนที่ 2 นําข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เนื้อหาแล้วนํามาสร้าง แบบสอบถามให้ผู้เชี่ยวชาญแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับความสําคัญของข้อรายการแต่ละข้อและ ขั้นตอนที่ 3 นําข้อมูลที่ได้มาคํานวณค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์และส่งแบบสอบถามไปให้ ผู้เชี่ยวชาญยืนยันคําตอบ หลังจากนั้น นําข้อมูลที่ได้มาคํานวณหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่าง ควอไทล์เพื่อสรุปผลการวิจัย\n\n ผลการวิจัย: สมรรถนะพยาบาลเวชศาสตร์ฟื้นฟู ประกอบด้วย 7 ด้าน มีจํานวนทั้งหมด 57 ข้อ ได้แก่ 1) ด้านการปฏิบัติการพยาบาลเวชศาสตร์ฟื้นฟูมีจํานวน 21 ข้อ 2) ด้านการป้องกันภาวะแทรกซ้อนมีจํานวน 7 ข้อ 3) ด้านการสอนและให้คําปรึกษามีจํานวน 5 ข้อ 4) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีมีจํานวน 5 ข้อ 5) ด้านวิชาการและการวิจัยมีจํานวน 6 ข้อ 6) ด้านการประสานงานและการดูแลอย่างต่อเนื่องมีจํานวน 4 ข้อและ 7) ด้านการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตมีจํานวน 9 ข้อ\n \nสรุป: สมรรถนะพยาบาลเวชศาสตร์ฟื้นฟูประกอบด้วยสมรรถนะ 7 ด้าน ผู้บริหารทางการพยาบาล สามารถนํามาเป็นแนวทางในการพัฒนา และประเมินพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานเวชศาสตร์ฟื้นฟูได้\n


การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ, อมราพร นาโควงค์, สุชาดา รัชชุกูล Sep 2014

การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ, อมราพร นาโควงค์, สุชาดา รัชชุกูล

Journal of Nursing Science Chulalongkorn University (วารสารพยาบาลศาสตร์)

วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะพยาบาลผู้ทําหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ\n\nรูปแบบการวิจัย: การพัฒนาเครื่องมือ\n\nวิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาล จํานวน 8 คน กลุ่ม พยาบาลผู้ทําหน้าที่ไกล่เกลี่ย จํานวน 408 คน และหัวหน้างานและรองหัวหน้างานของพยาบาลผู้ทําหน้าที่ ไกล่เกลี่ย จํานวน 60 คน ดําเนินการสร้างแบบประเมินสมรรถนะพยาบาลผู้ทําหน้าที่ไกล่เกลี่ยโดย แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การพัฒนาแบบประเมินฯ ประกอบด้วย 1) กําหนดคํานิยามเชิงปฏิบัติการ โดยทบทวนวรรณกรรมและบูรณาการร่วมกับข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาล 2) สร้างข้อคําถามตามคํานิยามที่ได้ 8 มิติ จํานวนทั้งหมด 89 ข้อ 3) ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาของ แบบประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ 7 คน ได้ค่าดัชนีความตรงเท่ากับ .85 โดยถูกตัดออก 3 ข้อ คงเหลือ 86 ข้อ 4) หาความเที่ยงโดยนําไปทดลองใช้กับพยาบาลผู้ทําหน้าที่ไกล่เกลี่ย จํานวน 30 คน ได้ค่าสัมประสิทธิ์ อัลฟาของครอนบาค เท่ากับ .92 และ 5) ตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้าง (Construct validity) โดย ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ตัวประกอบ (Factor analysis) สกัดตัวประกอบหลักของแบบประเมินที่นําไปใช้ กับพยาบาลผู้ทําหน้าที่ไกล่เกลี่ย จํานวน 408 คน ระยะที่ 2 การตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมินฯ ประกอบด้วย 1) ตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างโดยวิธี Known-groups 2) หาความเที่ยงโดย คํานวณค่าสัมประสิทธิอัลฟ่าของครอนบาค และ 3) ตรวจสอบความสอดคล้องของการประเมินโดยใช้สถิติ Interclass correlation coefficient\n\nผลการวิจัย: แบบประเมินสมรรถนะพยาบาลผู้ทําหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ มีองค์ประกอบหลัก 5 ด้าน รวม 53 ข้อ คือ 1) …


ความพึงพอใจของผู้ประกันตนที่มีต่อบริการของโรงพยาบาลในกรุงเทพมหานคร, ไพลิน สันติวรนันท์, กฤตกรณ์ ประทุมวงษ์, จีรนันท์ แกล้วกล้า Sep 2014

ความพึงพอใจของผู้ประกันตนที่มีต่อบริการของโรงพยาบาลในกรุงเทพมหานคร, ไพลิน สันติวรนันท์, กฤตกรณ์ ประทุมวงษ์, จีรนันท์ แกล้วกล้า

Journal of Nursing Science Chulalongkorn University (วารสารพยาบาลศาสตร์)

No abstract provided.


ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนและการสนับสนุนจากครอบครัวต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยโรคสูงอายุต้อหิน, หทัยกาญจน์ เชาวกิจ, จิราพร เกศพิชญวัฒนา Sep 2014

ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนและการสนับสนุนจากครอบครัวต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยโรคสูงอายุต้อหิน, หทัยกาญจน์ เชาวกิจ, จิราพร เกศพิชญวัฒนา

Journal of Nursing Science Chulalongkorn University (วารสารพยาบาลศาสตร์)

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนและการสนับสนุนจากครอบครัว ต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยสูงอายุโรคต้อหิน\n \nรูปแบบการวิจัย: การวิจัยแบบกึ่งทดลอง\n \nวิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุโรคต้อหินทั้งชายและหญิง ที่เข้ารับการรักษาในคลินิก โรคต้อหิน แผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ คัดเลือกตามเกณฑ์ที่กําหนด จํานวน 60 ราย แบ่ง เป็นกลุ่มทดลอง 30 ราย กลุ่มควบคุม 30 ราย โดยจับคู่ด้าน เพศ ระดับการศึกษา รายได้ และโรคประจําตัว กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ และกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตน และการสนับสนุนจากครอบครัว ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ 1) การประเมินทางสภาพสรีรวิทยาและ การกระตุ้นทางอารมณ์ 2) การให้คําแนะนําหรือการใช้คําพูดชักจูง 3) การเรียนรู้ผ่านตัวแบบหรือ ประสบการณ์ของผู้อื่น และ 4) ประสบการณ์ที่กระทําสําเร็จได้ด้วยตนเอง และการสนับสนุนจากครอบครัว ใน 4 ด้าน คือ ด้านอารมณ์ ด้านการประเมินค่า ด้านข้อมูลข่าวสาร ด้านทรัพยากร เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยสูงอายุโรคต้อหิน มีค่าดัชนีความตรงเชิง เนื้อหา เท่ากับ .80 มีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค เท่ากับ .84 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ Paired-t test และสถิติ One-way ANOVA\n \nผลการวิจัย: 1) ค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยสูงอายุโรคต้อหินหลังได้รับโปรแกรมฯ สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05\n2) ค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยสูงอายุโรคต้อหิน หลังได้รับโปรแกรมฯสูงกว่าผู้ป่วยสูงอายุโรคต้อหินที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05\n \nสรุป: โปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนและการสนับสนุนจากครอบครัวส่งผลให้ผู้สูงอายุโรคต้อหิน มีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพดีขึ้นและดีกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ\n


ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมทางเพศที่ปลอดภัยของนักเรียนอาชีวศึกษาชาย, สุขิตา มาศขาว, รัตน์ศิริ ทาโต Sep 2014

ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมทางเพศที่ปลอดภัยของนักเรียนอาชีวศึกษาชาย, สุขิตา มาศขาว, รัตน์ศิริ ทาโต

Journal of Nursing Science Chulalongkorn University (วารสารพยาบาลศาสตร์)

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมทางเพศ \nที่ปลอดภัยของนักเรียนอาชีวศึกษาชาย\n\nรูปแบบการวิจัย: การวิจัยแบบกึ่งทดลอง\n\nวิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนอาชีวศึกษาชายที่กําลังศึกษาหลักสูตร ปวส. ที่มีอายุระหว่าง 18-24 ปี จากโรงเรียน 2 แห่ง ที่มีลักษณะคล้ายกันในจังหวัดน่าน โดยสุ่มโรงเรียนเพื่อจัดเป็นกลุ่ม ทดลองหรือควบคุม แล้วคัดเลือกโรงเรียนละ 2 ห้อง แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม จํานวน 30 คน และกลุ่ม ทดลอง จํานวน 30 คน กลุ่มควบคุมได้รับความรู้จากหลักสูตรการเรียนการสอนตามปกติ กลุ่มทดลองได้ รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ 1) การใช้คําพูดชักจูง 2) การได้เห็นตัวแบบหรือประสบการณ์ของผู้อื่น 3) ประสบการณ์ที่กระทําสําเร็จด้วยตนเอง และ 4) สภาวะด้านร่างกายและอารมณ์ โดยมีสื่อประกอบการดําเนินกิจกรรม คือ แผนการสอน ภาพสไลด์ วีดิทัศน์ และคู่มือ "อาชีวะยุคใหม่ ทันสมัย ไม่เข้าใกล้เอดส์" ซึ่งได้รับการตรวจสอบความตรงของ เนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จํานวน 5 คน เครื่องมือกํากับการทดลอง ได้แก่ แบบประเมินการรับรู้สมรรถนะ ของตนเองในการมีพฤติกรรมทางเพศที่ปลอดภัย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และแบบวัดพฤติกรรมทางเพศที่ปลอดภัย มีค่าความเที่ยง .81 วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายและการทดสอบค่าที่\n\nผลการวิจัย: 1) ค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมทางเพศที่ปลอดภัยของนักเรียนอาชีวศึกษาชายหลังได้รับ โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน (x̄ = 66.40, SD = 2.43) สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ (x̄ = 55.77, SD = 6.09) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .01) และ 2) ค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมทางเพศ ที่ปลอดภัยของนักเรียนอาชีวศึกษาชายในกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน (x̄ = 66.40, SD = 2,43) สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับความรู้ตามปกติ (x̄ = 57.30, SD = 5.36) อย่างมีนัยสําคัญ ทางสถิติ (p < .01)\n \nสรุป: โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนส่งผลให้นักเรียนอาชีวศึกษาชายมีพฤติกรรมทางเพศ ที่ปลอดภัยเพิ่มขึ้นและเพิ่มมากกว่านักเรียนอาชีวศึกษาชายที่ได้รับความรู้ตามปกติ\n


ปัจจัยทำนายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน สังกัดกระทรวงสาธารณสุข, ยุวดี บาคาล, สุวิณี วิวัฒน์วานิช Sep 2014

ปัจจัยทำนายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน สังกัดกระทรวงสาธารณสุข, ยุวดี บาคาล, สุวิณี วิวัฒน์วานิช

Journal of Nursing Science Chulalongkorn University (วารสารพยาบาลศาสตร์)

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพและปัจจัยทํานายพฤติกรรมส่งเสริม สุขภาพของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลชุมชน เขตภาคกลาง สังกัดกระทรวงสาธารณสุข\n\nรูปแบบการวิจัย: การวิจัยแบบบรรยายเชิงทํานาย (Descriptive predictive research)\n\nวิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน เขตภาคกลาง สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จํานวน 347 คน ทําการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัย คือ แบบสอบถามลักษณะองค์การ แบบสอบถามการจัดการสถานที่ทํางานที่เอื้อต่อสุขภาพ และ แบบสอบถามพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ แบบสอบถามผ่านการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิ จํานวน 5 คน ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาของแบบสอบถามการจัดการสถานที่ทํางานที่เอื้อต่อสุขภาพ และ แบบสอบถามพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ เท่ากับ .89 และ 1.00 ตรวจสอบสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค ของแบบสอบถามทั้งสอง ได้เท่ากับ .93 และ .90 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบ\nขั้นตอน\n \nผลการวิจัย: 1) พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลชุมชน เขตภาคกลาง สังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (x̄ = 3.02, SD = 0.31)\n2) ปัจจัยทํานายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน ได้แก่ การจัดโครงการสถานที่ทํางานน่าอยู่น่าทํางาน (β = .366) ประสบการณ์ปฏิบัติงาน (β = .176)\nโรงพยาบาลขนาดเล็ก (β = .133) การนําองค์การและการบริหาร (β = .128) ได้รับการอบรมด้านส่งเสริม สุขภาพ (β = .108) ผ่านการรับรองเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ (β = .-131) และช่วงอายุ 30-39 ปี (β = .-128) โดยสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพ ได้ ร้อยละ 22.3 (R² = …


การพัฒนาแบบวัดการสื่อสารระหว่างผู้ปกครอง และบุตรสาวเรื่องการละเว้นเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน, จรรยา เจริญสุข, รุจา ภู่ไพบูลย์ Sep 2014

การพัฒนาแบบวัดการสื่อสารระหว่างผู้ปกครอง และบุตรสาวเรื่องการละเว้นเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน, จรรยา เจริญสุข, รุจา ภู่ไพบูลย์

Journal of Nursing Science Chulalongkorn University (วารสารพยาบาลศาสตร์)

วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนาแบบวัดการสื่อสารระหว่างผู้ปกครองและบุตรสาวเรื่องการละเว้นเพศสัมพันธ์ \nในวัยเรียน\n\nรูปแบบการวิจัย: การพัฒนาเครื่องมือ\n\nวิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ วัยรุ่นหญิงที่กําลังศึกษาอยู่ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 จํานวน 261คน ดําเนินการสร้างแบบวัดการสื่อสารระหว่างผู้ปกครองและบุตรสาวเรื่อง การละเว้นเพศสัมพันธ์ ในวัยเรียน ตามขั้นตอนดังนี้ 1) กําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ จากการศึกษาแนวคิดและการสนทนากลุ่ม กับวัยรุ่นหญิงที่กําลังศึกษาอยู่ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 จํานวน 9 คน 2) สร้างข้อคําถามตามคํานิยาม เชิงปฏิบัติการที่ประกอบด้วย 3 มิติ จํานวน 25 ข้อ ลักษณะคําตอบเป็นแบบมาตรวัดประมาณค่า 5 ระดับ ตั้งแต่ เป็นประจํา (5 คะแนน) ถึง ไม่เคยเลย (1 คะแนน) 3) ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาของแบบวัด โดยผู้เชี่ยวชาญ 5 คน ได้ค่าดัชนีความตรงเท่ากับ .95 โดยไม่มีข้อใดถูกตัดออก 4) หาความเที่ยงโดยนํา ไปทดลองใช้กับวัยรุ่นหญิงที่กําลังศึกษาอยู่ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 จํานวน 30 คน ได้ค่าสัมประสิทธิ์ อัลฟ่าของครอนบาค เท่ากับ .94 และ 5) ตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้าง (Construct validity) โดย การวิเคราะห์ปัจจัย (Factor analysis) ของแบบวัดฯ ในนักเรียนหญิงจํานวน 261 คน\n\nผลการวิจัย: แบบวัดการสื่อสารระหว่างผู้ปกครองและบุตรสาวเรื่อง การละเว้นเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน มีองค์ประกอบหลัก 4 องค์ประกอบ รวม 24 ข้อ คือ 1) ผลเสียของการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน ประกอบ ด้วยข้อคําถาม จํานวน 8 ข้อ สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 22.67, 2) การหลีกเลี่ยงโอกาส เสี่ยง / สถานการณ์ที่นําไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ ประกอบด้วยข้อคําถาม จํานวน 8 ข้อ …


สมรรถนะพยาบาลหอผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง, สุจารี บัวเจียม, บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร Sep 2014

สมรรถนะพยาบาลหอผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง, สุจารี บัวเจียม, บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร

Journal of Nursing Science Chulalongkorn University (วารสารพยาบาลศาสตร์)

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาสมรรถนะพยาบาลหอผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง\n \nรูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงพรรณนา โดยใช้เทคนิค EDFR\n \nวิธีดําเนินการวิจัย: ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้เชี่ยวชาญ จํานวน 18 คน ประกอบด้วย คณะกรรมการหลักสูตร ฝึกอบรมการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง จํานวน 4 คน แพทย์เฉพาะทางด้านประสาทวิทยา หรือประสาทศัลยศาสตร์ที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง จํานวน 1 คน หัวหน้าหอผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมอง จํานวน 6 คน และพยาบาลผู้เชี่ยวชาญ / พยาบาลชํานาญการด้านการดูแลผู้ป่วย ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง จํานวน 7 คน การดําเนินการวิจัยประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับสมรรถนะพยาบาลหอผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ขั้นตอนที่ 2 นํา ข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เนื้อหาแล้วนํามาสร้างแบบสอบถามเพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญ จํานวน 18 คน แสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับความสําคัญของข้อคําถามแต่ละข้อ ขั้นตอนที่ 3 นําข้อมูลที่ได้มาคํานวณหา ค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ และส่งแบบสอบถามกลับไปให้ผู้เชี่ยวชาญยืนยันคําตอบ หลังจาก นั้นนําข้อมูลที่ได้มาคํานวณหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ โดยพิจารณาค่ามัธยฐานมากกว่า 3.50 และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ไม่เกิน 1.50\n\nผลการวิจัย: สมรรถนะพยาบาลหอผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ประกอบด้วย 6 ด้าน ได้แก่ 1) สมรรถนะ ด้านความรู้เรื่องโรค (6 ข้อ) 2) สมรรถนะด้านการประเมินและการจัดการในภาวะเร่งด่วน (7 ข้อ) 3) สมรรถนะด้านการให้ยาละลายลิ่มเลือด (5 ข้อ) 4) สมรรถนะด้านการพยาบาลในหอผู้ป่วยโรคหลอด เลือดสมอง (7 ข้อ) 5) สมรรถนะด้านการพยาบาลเพื่อวางแผนการจําหน่ายและการดูแลต่อเนื่อง (5 ข้อ) และ 6) สมรรถนะด้านการสื่อสารและประสานงาน (5 ข้อ)\n\nสรุป: สมรรถนะพยาบาลหอผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองประกอบด้วยสมรรถนะ 6 ด้าน ซึ่งสามารถใช้ …


The Importance Of Access To Benefits Under The Family Medical Leave Act For Low-Income Families For Bonding And Attachment Facilitation With A Fragile Infant And The Role Of The Social Worker, Theresa Stewart Moran Jul 2014

The Importance Of Access To Benefits Under The Family Medical Leave Act For Low-Income Families For Bonding And Attachment Facilitation With A Fragile Infant And The Role Of The Social Worker, Theresa Stewart Moran

21st Century Social Justice

Lack of universal family leave discriminates against low-income families with infants who require care in the Neonatal Intensive Care Unit. Birth complications tend to occur more frequently in families living with low socioeconomic status, placing a disproportionate burden on an already vulnerable population. Parents in this group tend to be employed in jobs that do not include the benefit of parental leave. Considering that attachment relationships form as the result of bonding transactions during a critical time in development, limiting contact curtails secure attachment. This, combined with other risk factors, increase the odds of lifelong negative outcomes. Family leave policy …


The Use Of High-Fidelity Simulation In Psychiatric And Mental Health Nursing Clinical Education, Bethany A. Murray Jun 2014

The Use Of High-Fidelity Simulation In Psychiatric And Mental Health Nursing Clinical Education, Bethany A. Murray

International Journal of Health Sciences Education

Background: High-fidelity simulation recreates real-life situations in a safe learning environment and encourages critical thinking in students. Published research in simulation in psychiatric/mental health nursing is sparse.

Methods: Four scenarios exemplifying drug or alcohol abuse utilizing the computerized, mannequin SimMan® were implemented. Students evaluated their learning experience following completion of the simulation via a 20-item, Likert-scale survey which included open-ended questions.

Results: Results were positive. Students rated all items on the survey as “agree” or “strongly agree” (Mean 4.77, SD=0.55).

Conclusions: High fidelity clinical education simulations are an effective means of facilitating student learning of psychiatric and mental health clinical …


Investigating The Viability Of Two Stenotrophomonas Maltophilia Isolates After Air-Drying, Samantha Lane, Joanna Brooke Jun 2014

Investigating The Viability Of Two Stenotrophomonas Maltophilia Isolates After Air-Drying, Samantha Lane, Joanna Brooke

DePaul Discoveries

Abstract

Stenotrophomonas maltophilia is a water-borne infectious bacterium that is found in both clinical (hospitals) and non-clinical environments. This human pathogen is commonly recovered from respiratory tract infections. A recent study at a hospital in Taiwan suggested that dry patient charts can serve as a vehicle of transmission of this bacterium7. As S. maltophilia is not commonly isolated from dry surfaces, this current study tested the hypothesis that this pathogen can remain viable for some time on a dry surface. This study was designed to determine how long S. maltophilia could remain viable after air-drying by observing …


ผลของโปรแกรมการสร้าเสริมพลังอำนาจต่อการรับรู้สมรรถนะในการดูแลตนเอง ของผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง, เสาวลักษณ์ สุขพัฒนศรีกุล, วิไลวรรณ ทองเจริญ, จันทนา รณฤทธิวิชัย, วิชชุดา เจริญกิจการ May 2014

ผลของโปรแกรมการสร้าเสริมพลังอำนาจต่อการรับรู้สมรรถนะในการดูแลตนเอง ของผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง, เสาวลักษณ์ สุขพัฒนศรีกุล, วิไลวรรณ ทองเจริญ, จันทนา รณฤทธิวิชัย, วิชชุดา เจริญกิจการ

Journal of Nursing Science Chulalongkorn University (วารสารพยาบาลศาสตร์)

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสร้างเสริมพลังอํานาจต่อการรับรู้สมรรถนะในการดูแล ตนเองของผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง\n\n รูปแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง\n \nวิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงจํานวน 60 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง แบบสะดวก แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 30 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ โปรแกรม การสร้างเสริมพลังอํานาจตามแนวคิดของ Gibson ใช้ระยะเวลาในการศึกษา 5 สัปดาห์ เก็บรวบรวม ข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และแบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะในการดูแลตนเอง มีค่า ดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ .95 และสัมประสิทธิ์อัลฟ่าครอนบาคเท่ากับ .81 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติเชิงบรรยาย สถิติไค-สแควร์ และสถิติที\n\n ผลการวิจัย: 1) ผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงหลังได้รับโปรแกรมการสร้างเสริมพลังอํานาจมีคะแนน การรับรู้สมรรถนะในการดูแลตนเองสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001\n2) ผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการสร้างเสริมพลังอํานาจมีคะแนน การรับรู้สมรรถนะในการดูแลตนเองสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .001\n \nสรุป: โปรแกรมการสร้างเสริมพลังอํานาจส่งผลให้การรับรู้สมรรถนะในการดูแลตนเองของผู้สูงอายุโรค ความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น และเพิ่มสูงกว่าผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ\n