Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Medicine and Health Sciences Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Chulalongkorn University Dental Journal

Journal

2003

Bilateral sagittal split ramus osteotomy (BSSRO); Le Fort I osteotomy; mandibular prognathism; maxillary deficiency; orthognathic surgery

Articles 1 - 1 of 1

Full-Text Articles in Medicine and Health Sciences

การให้บริการทางศัลยกรรมผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของกระดูกขากรรไกรและใบหน้าในโรงพยาบาลคณะทันตแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สมชาย เศรษฐศิริสมบัติ, กรชนก วยัคฆานนท์, กิตติมา ศิริพานิช, กาญจนีย์ เตียววัฒนา, เกศกนก โชคถาวร, ขวัญเนตร ครีนุตตระกูล, วรพรรณ ตรัยไชยาพร May 2003

การให้บริการทางศัลยกรรมผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของกระดูกขากรรไกรและใบหน้าในโรงพยาบาลคณะทันตแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สมชาย เศรษฐศิริสมบัติ, กรชนก วยัคฆานนท์, กิตติมา ศิริพานิช, กาญจนีย์ เตียววัฒนา, เกศกนก โชคถาวร, ขวัญเนตร ครีนุตตระกูล, วรพรรณ ตรัยไชยาพร

Chulalongkorn University Dental Journal

วัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมและวิเคราะห์จํานวนและการให้บริการรักษาผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของการสบฟัน และความสัมพันธ์ของกระดูกขากรรไกรและใบหน้า โดยการจัดฟันร่วมกับการผ่าตัดขากรรไกร (orthognathic surgery)ของผู้ป่วยในโรงพยาบาลคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วัสดุและวิธีการ รวบรวมข้อมูลจากเพิ่มประวัติผู้ป่วยของโรงพยากรคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหา วิทยาลัยในระหว่างปีพุทธศักรา5 2539-2544 ที่ได้รับการผ่าตัดแก้ไ ความผิดปกติ ของการสบฟันจํานวน 115 คน เป็นชาย 46 คน หญิง 69 คน อยู่ในช่วงอายุ 6-45 ปี โดยแจกแจงข้อมูลและทําการวิเคราะห์สาเหตุที่มารับการ รักษา วิธีการรักษา อาการแทรกซ้อนหลังการผ่าตัดระยะเวลาการติดตามผลหลังการผ่าตัดจนกระทั่งอาการทั่วไปคงที่ ผลการศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นชาย 46 คน คิดเป็น 40% หญิง 69 คน คิดเป็น 40% อายุเฉลี่ย 26 ปี เหตุ ส่วนใหญ่ที่มารับการรักษาคือขากรรไกรล่างยื่นอย่างเดียวและรวมกับความผิดปกติอื่นคิดเป็นร้อยละ 81.7 ผู้ป่วย ได้รับการรักษาโดยการจัดฟันก่อนการผ่าตัดร้อยละ 62.4. ผ่าตัดขากรรไกรสวนใหญ่ได้แก่ ไบลาเทอรอล แซเอลสปลิทเรมิสออสติโอใตมี (bilateral sagittal split ramus osteotomy) เป็นร้อยละ 91.3 อาการแทรกซ้อนที่สำคัญ 6 เดือนแรกหลังผ่าตัดกรามฝีปากล่าง คิดเป็นร้อยละ 40.7 สรุป ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของขากรรไกรและใบหน้าที่เข้ารับการผ่าตัดในคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยในระยะเวลา 5 ปี พบว่าสวนใหญ่เป็นการผ่าตัดแก้ไขความผิดปกติของขากรรไกรล่างและผลแทรกซ้อน ที่พบมากที่สุดคือ อาการขาของริมฝีปากล่าง