Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Medicine and Health Sciences Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

PDF

Chulalongkorn University

Chulalongkorn University Dental Journal

Saliva

Publication Year

Articles 1 - 3 of 3

Full-Text Articles in Medicine and Health Sciences

Painting-On Topical Fluoride Gel Markedly Reduces The Fluoride Gel Amount Compared With Tray Application, Kamonwan Sriwongchai, Wacharaporn Tasachan, Kasekarn Kasevayuth, Chutima Trairatvorakul Jan 2019

Painting-On Topical Fluoride Gel Markedly Reduces The Fluoride Gel Amount Compared With Tray Application, Kamonwan Sriwongchai, Wacharaporn Tasachan, Kasekarn Kasevayuth, Chutima Trairatvorakul

Chulalongkorn University Dental Journal

Background/objectives: Professional topical fluoride (F) gel application has been used to prevent dental caries with a concern about safety in young children. The aim of this study is to evaluate a paint-on technique using a No. 8 paint brush for applying professional topical F gel as an alternative method in children at a safer, lower dose compared with a tray. Materials and Methods: Twenty-one healthy children (12-15-year-old) participated in this clinical crossover study. The amounts of F gel used were 0.4 ml in the paint-on or 5.0 ml in the tray. Saliva and interproximal fluid were collected before, and immediately, …


Peroxidase Activity In Unstimulated Whole Saliva In Periodontitis Patients, Em-On Benjavongkulchai, Janpen Bunmongkolruksa, Wipavee Kosalathip May 1998

Peroxidase Activity In Unstimulated Whole Saliva In Periodontitis Patients, Em-On Benjavongkulchai, Janpen Bunmongkolruksa, Wipavee Kosalathip

Chulalongkorn University Dental Journal

Objective To compare total peroxidase activity in whole saliva between periodontitis patients and perio- dontal healthy control by using more reliable and specific assay of 5-thio-2-nitrobenzoic acid (Nbs). Materials and methods Unstimulated whole saliva samples from periodontitis patients and periodontal healthy subjects (n = 15) were collected by expectoration. Flow rate was determined and pH was measured by pH paper. Total protein concentration and peroxidase activity were determined by Coomassie Brilliant Blue G250 and Nbs, respectively.Results and conclusions Mean values of flow rate, pH and total protein concentration in both groups were similar to each other. However, total peroxidase activity …


การกำจัดน้ำตาลกลูโคส และคุณสมบัติความเป็นบัฟเฟอร์ของน้ำลาย ในกลุ่มที่มีฟันผุมาก และกลุ่มที่มีฟันผุน้อย, ยุทธนา ปัญญางาม, ดลฤดี แก้วสวาท, อรพินธ์ อัจฉรานุกูล May 1993

การกำจัดน้ำตาลกลูโคส และคุณสมบัติความเป็นบัฟเฟอร์ของน้ำลาย ในกลุ่มที่มีฟันผุมาก และกลุ่มที่มีฟันผุน้อย, ยุทธนา ปัญญางาม, ดลฤดี แก้วสวาท, อรพินธ์ อัจฉรานุกูล

Chulalongkorn University Dental Journal

โรคฟันผุเกิดจากหลายสาเหตุร่วมกัน ได้แก่ ฟัน จุลินทรีย์ และสภาพแวดล้อมภายในช่องปากที่เหมาะสม ซึ่งคุณสมบัติของน้ำลายก็เป็นปัจจัยสําคัญประการหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมภายในช่องปาก ดังนั้นงาน วิจัยนี้จึงได้ทำการศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติการกำจัดน้ำตาลกูลโคส (glucose clearance) และคุณสมบัติ ความเป็นบัฟเฟอร์ของน้ําลาย (buffer capacity) ระหว่างกลุ่มที่มีฟังผุน้อย (low-caries group) และกลุ่มที่ มีฟันผุมาก (high-caries group) โดยสุ่มตัวอย่างแบบความบังเอิญตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ (purposive accidental sampling) จากนิสิตคณะทันตแพทยศาสตร์ชั้นปีที่ 3 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อายุ 19-22 ปี จํานวน 20 คน (หญิง 14 คน, ชาย 6 คน) แบ่งกลุ่มตามค่าดัชนีซี่ฟันผุถอนอุด (DMFT) ออกเป็นสองกลุ่มคือกลุ่มที่ มีฟันผุน้อย (DMFT <3) จำนวน 10 คน (หญิง 6 คน, ชาย 4 คน) และกลุ่มที่มีฟันผุมาก (DMFT > 8) จำนวน 10 คน (หญิง 8 คน, ชาย 2 คน) ทำการศึกษาคุณสมบัติความเป็นบัฟเฟอร์ของน้ำลาย โดยไทเทรตตัวอย่างน้ำลายด้วยกรดไฮโดรคลอริก 0.05 นอร์มัล (normal, N) และศึกษาการกำจัดน้ำตาลกลูโคสของน้ำลายโดยวัดความเข้มข้นของน้ำตาลกลูโคส ในตัวอย่างน้ำลายที่เวลา 1, 3, 5, 7, 9 และ 11 นาทีหลังจากอมสารละลายกลูโคส 50% นาน 2 นาที นําข้อมูล มาวิเคราะห์ทางสถิติหาความแตกต่างของคุณสมบัติความเป็นบัฟเฟอร์และการกำจัดน้ำตาลกลูโคสของน้ำลาย ด้วยการทดสอบค่าที (T-test) ผลการศึกษาพบว่า ปริมาณเฉลี่ยของกรดไฮโดรคลอริกที่ใช้ไทเทรตตัวอย่างน้ำลายจนมีสภาพ ความเป็นกรด-ด่าง (pH) เท่ากับ 5 ในกลุ่มที่มีฟันผุน้อยเท่ากับ 0.860 มล. และในกลุ่มที่มีฟันผุมากเท่ากับ 0.704 มล. โดยมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) สําหรับการศึกษาการกำจัดน้ำตาลกลูโคส ของน้ำลายพบว่าค่าความเข้มข้นเฉลี่ยของน้ำตาลกลูโคสในตัวอย่างน้ำลายของกลุ่มตัวอย่างทั้งสองมีควา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) ที่เวลา 3, 5 และ 7 นาที ในขณะที่เวลา 9 และ 11 นาที มีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย และไม่พบว่ามีนัยสำคัญทางสถิติ