Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Medicine and Health Sciences Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

PDF

Chulalongkorn University

Chulalongkorn University Dental Journal

Denture base

Publication Year

Articles 1 - 3 of 3

Full-Text Articles in Medicine and Health Sciences

Increased Wetting Time Of Methyl Formate-Methyl Acetate Did Not Increase Tensile Bond Strength Of Relined Denture Base Resin, Chalita Tanasamanchoke, Chairat Wiwatwarrapan Jan 2015

Increased Wetting Time Of Methyl Formate-Methyl Acetate Did Not Increase Tensile Bond Strength Of Relined Denture Base Resin, Chalita Tanasamanchoke, Chairat Wiwatwarrapan

Chulalongkorn University Dental Journal

Objective The interface between denture base and hard reline resin can be improved with chemical surface treatment, methyl formate-methyl acetate (MF-MA) solution, by dissolving the relined surface.This study evaluated the effect of various MF-MA wetting times on the tensile bond strength between a non-methyl methacrylate (MMA) based reline material and denture base. Materials and Methods One hundred plates of heat-cured denture base resin (Meliodent®) were prepared according to ISO 10139-2 and randomly divided into five groups: control and four experimental groups treated with CU Acrylic Bond, MF-MA at a ratio of 25:75 by volume, for 15, 30, 60, and 180 …


ผลกระทบของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีต่อความแข็งแรง ดัดขวางของวัสดุฐานฟันปลอมอะคริลิกเรซินชนิดบ่มด้วยความร้อน, ชัยรัตน์ วิวัฒน์วรพันธ์, รุ่งนภา วานิชวัฒนสิทธิ, สรนันทร์ จันทรางศุ, สิวัลย์ เฉลิมพิสุทธิศักดิ์ Sep 1999

ผลกระทบของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีต่อความแข็งแรง ดัดขวางของวัสดุฐานฟันปลอมอะคริลิกเรซินชนิดบ่มด้วยความร้อน, ชัยรัตน์ วิวัฒน์วรพันธ์, รุ่งนภา วานิชวัฒนสิทธิ, สรนันทร์ จันทรางศุ, สิวัลย์ เฉลิมพิสุทธิศักดิ์

Chulalongkorn University Dental Journal

วัตถุประสงค์ เพื่อพิจารณาผลของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีต่อความแข็งแรงดัดขวางของวัสดุฐานฟันปลอมอะคริลิกชนิดบ่มด้วยความร้อน วัสดุและวิธีการ เตรียมชิ้นตัวอย่างวัสดุฐานฟันปลอม อะคริลิกชนิดบ่มด้วยความร้อนผลิตภัณฑ์โรเด็กซ์ (โรเดนท์, เอส.อาร์.แอล) รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด 65x10x2.5 มม. จํานวน 60 ชิ้นแบ่งเป็น 6 กลุ่มๆ ละ 10 ชิ้น นําไปแช่ ในเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ผลิตภัณฑ์แบล็กแคท (บริษัท ยูไนเต็ด ไวน์เนอรี่ แอนด์ ดิสทิลเลอรี่ จํากัด) เข้มข้น 40 ดีกรี ที่อุณหภูมิ 5±2 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 100 200 300 400 และ 500 ชั่วโมง ตามลําดับ จากนั้นทดสอบ ความแข็งแรงดัดขวางด้วยวิธีกด 3 จุด ด้วยเครื่องยูนิเวอร์ซัลเทสทิ้งแมชชีน (Lloyd, England) รุ่นแอลเค 10 ด้วย ความเร็วหัวกด 5 มิลลิเมตรต่อนาที ผล ค่าเฉลี่ย (หน่วยปาสคาล) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความแข็งแรงตัดขวางของกลุ่มต่างๆ ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ไม่ได้แช่ในเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 59.57 ±4.39 กลุ่มที่ 2 แช่ในเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ครบ 100 ชั่วโมง 59.24± 5.00 กลุ่มที่ 3 แซ่ครบ 200 ชั่วโมง 60.74 ± 5.38 กลุ่มที่ 4 แซ่ครบ 300 ชั่วโมง 59.19± 4.67 กลุ่มที่ 5 แซ่ครบ 400 ชั่วโมง 58.75± 7.22 กลุ่มที่ 6 แซครบ 500 ชั่วโมง 56.6 ±5.38 …


การเปรียบเทียบแรงยึดเกาะของฐานฟันปลอมอะคริลิก ที่ระดับความคอดต่าง ๆ กันของฟันและแรงยึดเกาะของตะขอลวดดัด, นิยม ธำรงค์อนันต์สกุล, ปิยะวัฒน์ พันธุ์โกศล, รพีพรรณ คงพิทักษ์สกุล, สุธาสินี เปรมอิสระกูล May 1997

การเปรียบเทียบแรงยึดเกาะของฐานฟันปลอมอะคริลิก ที่ระดับความคอดต่าง ๆ กันของฟันและแรงยึดเกาะของตะขอลวดดัด, นิยม ธำรงค์อนันต์สกุล, ปิยะวัฒน์ พันธุ์โกศล, รพีพรรณ คงพิทักษ์สกุล, สุธาสินี เปรมอิสระกูล

Chulalongkorn University Dental Journal

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแรงยึดเกาะของฐานฟันปลอมอะคริลิกที่ระดับความคอดต่าง ๆ กันของฟัน และแรงยึดเกาะของตะขอลวดดัด วัสดุและวิธีการ โดยนําฟันกรามน้อยบนที่ 2 และฟันกรามใหญ่บนที่ 1 ฝังลงในแบบจําลองปลาสเตอร์สโตน ทําการพิมพ์ซ้ํา โดยแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม คือ หาแรงยึดเกาะที่ระดับความคอด 0.03 นิ้ว 0.02 นิ้ว 0.01 นิ้วและ ระดับเส้นสํารวจ ส่วนกลุ่มที่ 4 หาแรงยึดเกาะของตะขอลวดดัด ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 มิลลิเมตร ที่ระดับความ คอด 0.02 นิ้ว ของฟันกรามใหญ่ชี้ที่ 1 ทดสอบหาค่าแรงยึดเกาะโดยใช้ เครื่องลอยด์ยูนิเวอร์ซัลเทสติ้ง รุ่น แอลอาร์ 10 เค (Lloyd Universal Testing Machine Model LR 10 K) ผลการทดลองและสรุป เมื่อวิเคราะห์ค่าแรงยึดเกาะทางสถิติโดยวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวที่ระดับความ เชื่อมั่น 0.05 และวิธีดันแคนนิวมัลติเพิลเรนจ์ ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 พบว่าในฟันซี่เดียวกันแรงยึดเกาะที่ระดับความคอดต่าง ๆ กันจะมีความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญ โดยที่ระดับความคอด 0.03 นิ้ว ให้แรงยึดเกาะสูงสุดรองลง มาคือที่ระดับส่วนคอด 0.02 นิ้ว 0.01 นิ้วและที่เส้นสํารวจตามลําดับ และที่ระดับความคอดเดียวกันในฟันต่าง ๆ กัน แรงยึดเกาะมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญ โดยฐานฟันปลอมที่ครอบคลุมทั้งฟันกรามน้อยซี่ที่ 2 และฟันกรามใหญ่ ที่ 1 ให้แรงยึดเกาะสูงสุด รองลงมาคือฐานฟันปลอมที่ครอบคลุมฟันกรามใหญ่ที่ 1 และฐานฟันปลอมที่ครอบคลุม ฟันกรามน้อยที่ 2 ตามลําดับ ส่วนที่ระดับเส้นสํารวจไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญในฟันกรามน้อยที่ 2 และ ฟันกรามใหญ่ที่ 1 แต่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญในกลุ่มที่ครอบคลุมฟันทั้ง 2 ซี่ ส่วนกลุ่มตะขอลวดดัด ให้แรงยึดเกาะของฐานฟันปลอมน้อยกว่าแรงยึดเกาะของฐานฟันปลอมที่ได้จากระดับความคอด 0.03 นิ้ว 0.02 นิ้ว และ …