Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Medicine and Health Sciences Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Veterinary Medicine

1989

Institution
Keyword
Publication
Publication Type
File Type

Articles 1 - 30 of 38

Full-Text Articles in Medicine and Health Sciences

การทดสอบประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อของยาฆ่าเชื้อที่มีฟีนอล,ฟอร์มาลิน และควอเตอนารี แอมโมเนียมเป็นส่วนผสม, เยาวภา เจิงกลิ่นจันทร์, เกรียงศักดิ์ พูนสุข Dec 1989

การทดสอบประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อของยาฆ่าเชื้อที่มีฟีนอล,ฟอร์มาลิน และควอเตอนารี แอมโมเนียมเป็นส่วนผสม, เยาวภา เจิงกลิ่นจันทร์, เกรียงศักดิ์ พูนสุข

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ยาฆ่าเชื้อชนิดที่เป็นส่วนผสมของสารเคมีในกลุ่มฟินอล ฟอร์มาลีน และควอเตอนารีแอมโมเนียม ซึ่งใช้กันอย่างแพร่หลายสำหรับฆ่าเชื้อในโรงเรือน และเครื่องใช้ในฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ได้ทำการศึกษาหาประสิทธิภาพของการฆ่าเชื้อของยาต่อแบคทีเรีย 50 เสตรน ซึ่งมีทั้งชนิดแกรมส์บวกและลบ รวมไปถึงเชื้อราอีก 5 เสตรน โดยการกำหนดความเข้มข้นของ เนื้อยาเป็น 1:100, 1:500 และ 1:1000 ปริมาตร/ปริมาตร และระยะเวลาให้เชื้อสัมผัสกับยาที่ 5, 10, 30, 60 และ 120 นาทีตามลำดับ ผลของการทดลองพบว่าในระดับความ เข้มข้น 1:100 และ 1:500 ปริมาตร/ปริมาตร สามารถทำลายเชื้อได้โดยสิ้นเชิงภายในเวลา 5 นาที


Short Estrous Cycle After Pgf2Α Induced Abortions In Goats, Jureerat Eiamvitayakorn Dec 1989

Short Estrous Cycle After Pgf2Α Induced Abortions In Goats, Jureerat Eiamvitayakorn

The Thai Journal of Veterinary Medicine

The effect of PGF2α on the estrous cycle in a group of 30 does of unknown reproductive status has been studied. The results showed a high incidence of short estrous cycles after PGF2α - induced abortions. There was a significant difference between mean length of the first estrous cycle after treatment in the group of aborted and non-aborted does. (7.6 ± 1.7 and 24.6 ± 4.0, P < 0.01)


The Use Of Flumequine For Treatment Of Bacterial Infection In Babanana Tiger Prawn (Penaeus Monodon) And Seabass (Lates Calcarifer), Jirasak Tangtrongpiros, Weena Koeypudsa Dec 1989

The Use Of Flumequine For Treatment Of Bacterial Infection In Babanana Tiger Prawn (Penaeus Monodon) And Seabass (Lates Calcarifer), Jirasak Tangtrongpiros, Weena Koeypudsa

The Thai Journal of Veterinary Medicine

The efficacy of flumequine was studied both in vitro and in vivo. The MIC was 0.5 ug/ml to 17 strains of A. hydrophila and 23 strains of V. anguillarum isolated from affected fishes and shrimps in Thailand. Sodium chloride (Nacl) has no effect on flumequine in inhibiting the growth of these bacterias. The mortality of shrimp (P. monodon) and seabass (L. calcarifer) was reduced at the dosage of 5 ppm, 10 ppm and 20 ppm when flumequine was administered every day or every 2 day. This drug should be one of the drug of choice in treatment of bacterial infection …


การตรวจเชื้อไวรัสจากลูกสุกรแท้งโดยใช้เซลล์เลี้ยง และจุลทรรศน์อิเล็กตรอน, สุมิตรา วัฒโนดร Dec 1989

การตรวจเชื้อไวรัสจากลูกสุกรแท้งโดยใช้เซลล์เลี้ยง และจุลทรรศน์อิเล็กตรอน, สุมิตรา วัฒโนดร

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ลูกสุกรแท้งอายุประมาณ 100 วัน ถูกส่งมาจากจังหวัดชลบุรี เพื่อตรวจหาเชื้อ ไวรัส ได้บดสมอง, ตับ, ไต และปอดของลูกสุกรแท้ง แล้วกรอง นำสิ่งกรองไปเลี้ยงใน เซลล์เลี้ยง BHK-21 พบว่าเซลล์เลี้ยงมีการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดในเวลา 24 ชั่วโมง และ เมื่อนำเซลล์เลี้ยงไปตรวจดูด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน พบไวรัสเฮอร์พีส์จากเซลล์เลี้ยงเหล่านี้


Short Communication: Plate Culture Of Canine Metastatic Sertoli Cell Tumors, Achariya Sailasuta, Susmu Tateyama, Yuko Mutoh, Ryoji Yamaguchi, Dai Nosaka Dec 1989

Short Communication: Plate Culture Of Canine Metastatic Sertoli Cell Tumors, Achariya Sailasuta, Susmu Tateyama, Yuko Mutoh, Ryoji Yamaguchi, Dai Nosaka

The Thai Journal of Veterinary Medicine

No abstract provided.


Reproductive Performance Of Sows In Thailand, Annop Kunavongkrit, Piyalumporn Poomsuwan, Peerasak Chantaraprateep Dec 1989

Reproductive Performance Of Sows In Thailand, Annop Kunavongkrit, Piyalumporn Poomsuwan, Peerasak Chantaraprateep

The Thai Journal of Veterinary Medicine

The objective of this investigation was to compare the piglets production and reproductive performance of sows reared in the intensive farm and the small traditional farms in the same area. Furthermore, the comparison between the intensive farms from different regions were also made. The determination of the influences of season and parity to litter size, gestation length and interval from weaning to oestrus were also included. The piglets production and sow performance in the wellmanaged intensive farm is better than those of the small farms. There was no significant difference in term of piglets production among the regions. The number …


Qualitative Metabolism Assessment Using High Performance Thin Layer Chromatography, Shih-Ling Chang Oct 1989

Qualitative Metabolism Assessment Using High Performance Thin Layer Chromatography, Shih-Ling Chang

Veterinary Science Faculty Patents

A method for the qualitative assessment of oxidative drug metabolism deficiencies, preferably for the qualitative assessment of dextromethorphan metabolism, in a subject comprises analyzing a sample fluid from the subject, for example urine, which contains metabolites of a probe drug using high performance thin layer chromatography.


Retinal Pigment Epithelial Glycosaminoglycan Metabolism: Intracellular Versus Extracellular Pathways. In Vitro Studies In Normal And Diseased Cells, Gustavo D. Aguirre, Lawrence E. Stramm, M Haskins Sep 1989

Retinal Pigment Epithelial Glycosaminoglycan Metabolism: Intracellular Versus Extracellular Pathways. In Vitro Studies In Normal And Diseased Cells, Gustavo D. Aguirre, Lawrence E. Stramm, M Haskins

Gustavo D. Aguirre, VMD, PhD

The synthesis and turnover of glycosaminoglycans (GAGs) in different fractions of cultured feline retinal pigment epithelium (RPE) were characterized. In one method of fractionation, trypsin was used to separate the extracellular components (referred to as trypsin-soluble glycocalyx) from the intracellular components. As a second method, the basal extracellular matrix (basal ECM) was separated from the rest of the GAGs (cell-associated GAGs) by extracting the cell layer with NH4OH. The incorporation of 35SO4 into cetylpyridinium chloride-precipitable GAGs in the cell-associated and the intracellular fractions increased throughout the labeling period, while in the trypsin-soluble glycocalyx and the basal ECM incorporation approached a …


ความไวของเชื้อ มัยโคพลาสม่า ไฮโอนิวโมนิอี ต่อยาปฏิชีวนะ, เกรียงศักดิ์ สายธนู, โสมทัต วงศ์สว่าง, เทอด เทศประทีป Sep 1989

ความไวของเชื้อ มัยโคพลาสม่า ไฮโอนิวโมนิอี ต่อยาปฏิชีวนะ, เกรียงศักดิ์ สายธนู, โสมทัต วงศ์สว่าง, เทอด เทศประทีป

The Thai Journal of Veterinary Medicine

จากการศึกษาความไวของเชื้อ มัยโคพลาสม่า ไฮโอนิวโมนอี จำนวน 20 เสตรน ซึ่งเป็นเชื้อที่แยกได้จากปอดบวมของสุกร จำนวน 19 เสตรน และ Strain J. พบว่าความ เข้มข้นต่ำสุดของยา มัยโนชัยคลิน, สมัยรามัยซิน, คิตาซามัยซิน, ไทโลซิน, สเปคติโนมัยซิน, ลินโคมัยซิน, อีริโทรมัยซิน, เตรัตตราซัยคลิน, และสเป็คติโนมัยซิน ∤ ลินโคมัยซิน (1 : 1) ต่อเชื้อที่ทดสอบทั้งหมดจะมีค่าเท่ากับ 0.5-8, 0.125-64, 0.5-16, 0.5-32, 0.5-4, 0.25-4, 4-64, 0.5-64 และ 0.25-2 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร ตามลำดับ เชื้อที่แยกได้ ส่วนใหญ่จะต้านต่อยาปฏิชีวนะ มากกว่า Strain J.


การศึกษาพยาธิภายนอกที่มีปีกของโคและกระบือในประเทศไทย, อาคม สังข์วรานนท์ Sep 1989

การศึกษาพยาธิภายนอกที่มีปีกของโคและกระบือในประเทศไทย, อาคม สังข์วรานนท์

The Thai Journal of Veterinary Medicine

รายงานการศึกษาแมลงที่มีปีกที่พบบนตัวโค และกระบือจาก 23 จังหวัด ของประเทศไทย โดยการแยกชนิดของตัวอย่าง ปรสิตภายนอกซึ่งเก็บในช่วงระหว่างปี 2531 (1981-1988) พบว่าแมลงที่มีปีกทั้งหมดจัดอยู่ในจำพวก Dipterans 12 ชนิด ดังต่อไปนี้คือ : Culicoides Latreille (Diptera : Ceratopogenidae); Chrysops dispar Frabicisu, Haematopota pachycera Bigot, Tabanus megalops Walker, Tabanus rubidus Wiedemann, Tabanus rufiscutellatus Stekhoven and Tabanus striatus Frabicius (Diptera: Tabanidae); Musca domestica Linnaeus, Stomoxys calcitrans Geoffroy, Lyperosia Rondani Fannia Robineau - Desvoidy (Diptera : Muscidae); Hippobosca Linnaeus (Diptera : Hippoboscidae). ในการศึกษาครั้งนี้ยังได้รายงานเกี่ยวกับพื้นที่หรือจังหวัด ที่พบ และตำแหน่งของแมลงที่พบบนตัวสัตว์


อุบัติการและการรักษาไส้เลื่อนที่สะดือม้า, มาริษศักร์ กัลล์ประวิทธ์, อติชาต พรหมาสา, ชนินทร์ กัลล์ประสิทธิ์ Sep 1989

อุบัติการและการรักษาไส้เลื่อนที่สะดือม้า, มาริษศักร์ กัลล์ประวิทธ์, อติชาต พรหมาสา, ชนินทร์ กัลล์ประสิทธิ์

The Thai Journal of Veterinary Medicine

การรักษาม้าที่มีไส้เลื่อนที่สะดือจำนวน 25 ตัว ที่ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างมกราคม พ.ศ. 2530 ถึง ธันวาคม พ.ศ. 2531 พบว่าม้าเพศเมียมีอัตราการมีวิการนี้สูงกว่าเพศผู้ คือพบเป็นเพศเมีย 16 ตัวและเพศผู้ 9 ตัว ถ้ามีอายุระหว่าง 4 เดือนถึง 16 1/2 เดือน พบม้าอายุน้อยกว่า 6 เดือน 2 ตัว ระหว่าง 6 ถึง 12 เดือน 19 ตัว และอายุมากกว่า 12 เดือน 4 ตัว ม้าเหล่านี้ส่วนใหญ่ แสดงอาการไส้เลื่อนเมื่ออายุประมาณ 1 เดือน ม้ามีน้ำหนักระหว่าง 141-311 ก.ก. ขอบ ปากถุงไส้เลื่อนมีขนาดยาวระหว่าง 3 ถึง 8 ซ.ม. และกว้างระหว่าง 1.5 ถึง 2 ซ.ม. ม้าทุกตัวหายเป็นปกติภายหลังได้รับการรักษาทางศัลยกรรมโดยใช้ umbilical tape เย็บแบบ overlapping จากการศึกษาอายุของม้ากลุ่มนี้สรุปได้ว่าควรพิจารณารักษาไส้เลื่อนทางศัลยกรรมก่อนมาอายุเกิน 6 เดือน


การเพาะเลี้ยงตัวอ่อนสุกร : ผลของระยะการเจริญเติบโตของตัวอ่อน และชนิดของน้ำยาเพาะเลี้ยง, มงคล เตชะกำพุ, สุพจน์ อานันทนะสุวงศ์, สุพจน์ เลื่องยศลือชากุล, วัชรี ตันติวิวัฒนเสถียร, ชัยณรงค์ โลหชิต Sep 1989

การเพาะเลี้ยงตัวอ่อนสุกร : ผลของระยะการเจริญเติบโตของตัวอ่อน และชนิดของน้ำยาเพาะเลี้ยง, มงคล เตชะกำพุ, สุพจน์ อานันทนะสุวงศ์, สุพจน์ เลื่องยศลือชากุล, วัชรี ตันติวิวัฒนเสถียร, ชัยณรงค์ โลหชิต

The Thai Journal of Veterinary Medicine

เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของตัวอ่อนสุกร 5 ระยะคือ ระยะ 2 เซลล์ 4 เซลล์ มอรูล่า บลาสโตซิส และบลาสโตซิสที่ออกมาจากเปลือกหุ้มทั้งสิ้น 58 ตัวอ่อน ใน น้ำยาเพาะเลี้ยง เลี้ยง 2 ชนิดคือ HAM'S F 10 และ Modified Kreb's Ringer (M-KREB) โดยเพาะเลี้ยงที่อุณหภูมิ 37º ซ. ที่อิ่มตัวด้วยไอน้ำในสภาวะ 5% CO₂ ในอากาศ เป็นเวลา 24 และ 48 ชม. ผลการศึกษาพบว่าตัวอ่อนระยะมอรูล่าและบลาสโตซิสเจริญได้ดีกว่าตัวอ่อน ระยะอื่น ๆ และพบว่าน้ำยาชนิด M-KREB ให้ผลเพาะเลี้ยงดีกว่าน้ำยาชนิด HAM'S F-10 46.7% เทียบกับ 28.3% ที่ 24 ชม. 24 ชม. และ 43.3% เทียบกับ 0% ที่ 48 ชม. ผลการศึกษา ชี้ให้เห็นว่าการเจริญของตัวอ่อนนอกร่างกายสุกรขึ้นกับระยะการเจริญเติบโตของตัวอ่อนและชนิดของน้ำยาเพาะเลี้ยงที่ใช้


การเจริญเติบโตของเชื้อ พาสเตอเรลล่า มัลโตซิด้า ในอาหารเหลวชนิดต่าง ๆ, อารีรัตน์ ลออปักษา, สารี วิรุฬหผล, เกรียงศักดิ์ สายธนู, นวรัตน์ จารุจินดา, สันติ ถุงสุวรรณ Sep 1989

การเจริญเติบโตของเชื้อ พาสเตอเรลล่า มัลโตซิด้า ในอาหารเหลวชนิดต่าง ๆ, อารีรัตน์ ลออปักษา, สารี วิรุฬหผล, เกรียงศักดิ์ สายธนู, นวรัตน์ จารุจินดา, สันติ ถุงสุวรรณ

The Thai Journal of Veterinary Medicine

เชื้อ พาสเดอเรลล่า มัลโตชิดา ซีโรทัยป์ 8 : A เมื่อนำมาทดลองเพาะเลี้ยงให้เจริญในอาหารเลี้ยงเชื้อ 8 ชนิด พบว่า เชื้อเจริญได้ดีที่สุดตามลำดับใน Brain heart infusion broth, Tryptic broth + 0.3% yeast extract และ Modified tryptic soy broth savavlu laun Tryptose broth, Tryptic soy broth as Tryptose-thiamine broth a Nutrient broth was Nutrient broth + 0.3% yeast extract จะให้จำนวนเชื้อต่ำสุด สภาวะที่เหมาะสม พบว่า บ่มที่ อุณหภูมิ 37º ช เป็นเวลา 18 ชม. การใช้ Fermentor หรือการเขย่าจะให้ผลดีกว่าแบบ อยู่นิ่ง จำนวนเชื้อที่มีชีวิตที่ได้มีค่าสูงสุดจาก Brain heart infusion broth มีค่า 2.25 X 10⁹ CFU/มล. ค่าความขุ่นเท่ากับ 1.8 ใช้ความยาวคลื่น 540 นาโนเมตร


Sarcocystis ในประเทศไทย Ii. อุบัติการของ Sarcoystis ในสุกร, มานพ ม่วงใหญ่ Jun 1989

Sarcocystis ในประเทศไทย Ii. อุบัติการของ Sarcoystis ในสุกร, มานพ ม่วงใหญ่

The Thai Journal of Veterinary Medicine

การสำรวจหาพยาธิ Sarcocystis ในหลอดอาหารและกระบังลมของสุกรขุนที่ ส่งเข้าโรงฆ่าสัตว์ของกรุงเทพมหานคร เขตพระโขนง ซึ่งมาจากจังหวัดต่าง ๆ กันจำนวน ทั้งสิ้น 839 ตัวอย่าง ซึ่งในการตรวจนั้นทำโดยใช้วิธีย่อยระยะสั้นและการเขย่าอย่างแรง (vortex) พบ bradyzoites จากการย่อย หลอดอาหาร 5.25% (16/305) และ กระบังลม 11.86% (35/295) การเขย่าอย่างแรง พบ bradyzoite จากหลอดอาหาร 2.5% (2/80) และกระบังลม 6.29% (10/159) นำเนื้อกระบังลม 15 ตัวอย่าง และหลอดอาหาร 1 ตัวอย่างที่ตรวจพบ bradyzoite แล้วมาตรวจทางจุลพยาธิวิทยา พบชีสต 4 ตัวอย่างจากกระบังลม แหล่งที่พบมีการติดโรคมากที่สุดคือ จังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งพบจากการย่อยกระบังลม 19.77% (17/86)


การศึกษาทางซีรั่มวิทยาของฝูงไก่ที่แสดงอาการไข่ลด, ช้องมาศ อันตรเสน, วีณา มุกดาสกุลภิบาล, บุญเลิศ อ่าวเจริญ, นิมิตร เชื้อเงิน, รัตนาภรณ์ แก้วพะเนาว์ Jun 1989

การศึกษาทางซีรั่มวิทยาของฝูงไก่ที่แสดงอาการไข่ลด, ช้องมาศ อันตรเสน, วีณา มุกดาสกุลภิบาล, บุญเลิศ อ่าวเจริญ, นิมิตร เชื้อเงิน, รัตนาภรณ์ แก้วพะเนาว์

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ไก่ไข่ฝูงหนึ่งจากจังหวัดสตูล แสดงอาการอุจจาระเหลว และไข่ลด โดยลดลง 23-41% ของระดับปกติ เปลือกไข่นิ่มและเปลือกบาง จากการตรวจทางซีรั่มวิทยา พบภูมิคุ้มกันต่อโรคไข่ลด (EDS - 76) ที่ระดับซีรั่มเจือจาง 1 : 16 - 1 : 256 และพบภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ Mycoplasma gallisepticum 34/49 (69.38%) ากการแยกเชื้อไวรัสไม่พบการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ในเซลล์ไตไก่


การศึกษาฤทธิ์ของยา Medetomidine ในนก, สิริชัย เฉิดฉันท์พิพัฒน์, กิตติ ทรัพย์ชูกุล, กฤษฎา พงศ์พิชญศิริ, มาริษศักร์ กัลล์ประวิทธ์ Jun 1989

การศึกษาฤทธิ์ของยา Medetomidine ในนก, สิริชัย เฉิดฉันท์พิพัฒน์, กิตติ ทรัพย์ชูกุล, กฤษฎา พงศ์พิชญศิริ, มาริษศักร์ กัลล์ประวิทธ์

The Thai Journal of Veterinary Medicine

การศึกษาฤทธิ์ของ medetomidine ในนกเขาชวาไม่จำกัดเพศ อายุ และ น้ำหนัก จำนวน 5 กลุ่ม ๆ ละ 15 ตัว ภายหลังฉีดยาเข้ากล้ามเนื้ออกขนาด 0.25, 0.5, 1.0, 2.0 และ 4.0 มก. ต่อน้ำหนักตัว 1 กก. พบว่า medetomidine ขนาดที่ใช้มีฤทธิ์ทำให้นกเขาชวาซึม ยืนหลับตาท่าหน้าอกแตะพื้น แต่ไม่สามารถทำให้นกล้มนอนและไม่มีฤทธิ์ระงับปวด นกทุกตัวในแต่ละกลุ่มเริ่มแสดงอาการซึม ยืนหลับตาภายหลังได้รับยาแล้วนานเฉลี่ย 8.7±2.3, 7.9 ± 2.4, 7.9 ± 4.4, 7.5 ± 2.8 และ 8. + 2.6 นาที ตามลำดับ ซึ่งไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P > 0.05) ระยะเวลาหลับนานเฉลี่ย 301.4 ± 65.4, 326.3 ±54.1, 394.1 ± 41.3, 533.9 ± 73.7 และ 741.3 ± 88.1 นาที ตามลำดับ ซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.05) ยกเว้น ระหว่างกลุ่มที่ได้รับยา 0.25 และ 0.5 มก. ต่อน้ำหนักตัว 1 กก. ซึ่งไม่แตกต่างกัน ระยะ เวลาซึมนานขึ้นตามขนาดยาที่เพิ่มโดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) = 0.99 การเลือกใช้ขนาดของยาจึงขึ้นอยู่กับระยะเวลาที่ต้องการให้นักซึม ยาขนาด 0.25 มก. ต่อน้ำหนักตัว 1 กก. เป็นขนาดที่เพียงพอสำหรับใช้กับนก สามารถทำให้นกหลับภายใน 9 นาที และหลับ เป็นเวลานานประมาณ 5 ชั่วโมง


Tissue Calture And Immunohistochemical Study Of Oviduct Tumor In A Dog, Achariya Sailasuta, Susuma Tateyama, Yuko Mutoh, Ryoji Yamaguchi, Dai Nozaka, Rimihiro Mastuyama Jun 1989

Tissue Calture And Immunohistochemical Study Of Oviduct Tumor In A Dog, Achariya Sailasuta, Susuma Tateyama, Yuko Mutoh, Ryoji Yamaguchi, Dai Nozaka, Rimihiro Mastuyama

The Thai Journal of Veterinary Medicine

The tissue culture and immunohistochemistry of an oviductal tumor in a dog were studied. In the primary tumor cell culture, various types of cell configuration were detected including large-polygonal, elliptical, large-spindle and small spindle with long cytoplasmic processes, as well as a distinct pavement-like growth pattern. With respect to their immunohistochemistry, the tumor cells were stained positively by antikeratin. These results indicate that the tumor can be classified as an epithelially derived tumor of the oviduct.


โรคมงคล่อเทียมในเก้งหม้อ, กาญจน์ชัย แสนวงศ์, สุพจน์ เมธาภิวัฒน์, ประสิทธิ์ ธราวิจิตรกุล, บรรยง คันธวะ Jun 1989

โรคมงคล่อเทียมในเก้งหม้อ, กาญจน์ชัย แสนวงศ์, สุพจน์ เมธาภิวัฒน์, ประสิทธิ์ ธราวิจิตรกุล, บรรยง คันธวะ

The Thai Journal of Veterinary Medicine

เก้งหม้อเพศเมีย อายุ 3 ปี ของสวนสัตว์เชียงใหม่ ตายขณะกำลังรับการรักษาแผลมีขนาดใหญ่ที่ต้นขาหลังซ้าย ก่อนตายแสดงอาการ ผอม หมดแรง นอนซึม เบื่ออาหาร จากการผ่าซาก พบฝีหนองจำนวนมาก กระจายทั่วไป ในตับ ม้าม ปอดและเต้านม ผลการตรวจเชื้อแบคทีเรียจากบริเวณดังกล่าวพบ Pseudomonas pseudomallei


Anthelmintic Activity Of Thiophanate Against Nematodes In Cattle And Buffalo Calves, Vichitr Sukhapesna Jun 1989

Anthelmintic Activity Of Thiophanate Against Nematodes In Cattle And Buffalo Calves, Vichitr Sukhapesna

The Thai Journal of Veterinary Medicine

The anthelmintic activity of a single oral dose of thiophanate at the rate of 50 mg/kg of body weight was determined by the Field trial method against nematodes in cattle and buffalo calves. In cattle calves, thiophanate at the rate of 50 mg/kg was highly effective (100 percent) in reducing Mecistocirrus digitatus eggs throughout the eight experimental weeks. The drug was also highly effective (90.4 to 100 percent) in reducing strongyloides papillosus, Bunostomum phlebotomum, Charbertia, Cooperia, Haemonchus, Oesophagostomum and Trichostrongylus eggs from the first to seventh week after treatment. In buffalo calves, thiophanate at the rate of 50 mg/kg. was …


Edema Disease-Like Brain Lesions In Gnotobiotic Piglets Infected With Escherichia Coli Serotype 0157:H7, David H. Francis, Rodney A. Moxley, Cecile Y. Andraos Apr 1989

Edema Disease-Like Brain Lesions In Gnotobiotic Piglets Infected With Escherichia Coli Serotype 0157:H7, David H. Francis, Rodney A. Moxley, Cecile Y. Andraos

School of Veterinary and Biomedical Sciences: Faculty Publications

Gnotobiotic piglets inoculated with Escherichia coli serotype 0157:H7 strains that produced Shiga-like toxin II developed brain lesions similar to those observed in edema disease of swine, including arteriolar necrosis and malacia. Loss of ability to produce Shiga-like toxin II resulted in loss of ability to cause brain lesions.


Impairment Of Melibiose Utilization In Streptococcus Mutans Serotype C Gtfa Mutants, Raul G. Barletta, Roy Curtiss Iii Mar 1989

Impairment Of Melibiose Utilization In Streptococcus Mutans Serotype C Gtfa Mutants, Raul G. Barletta, Roy Curtiss Iii

School of Veterinary and Biomedical Sciences: Faculty Publications

The Streptococcus mutans serotype c gtfA gene encodes a 55-kilodalton sucrose-hydrolyzing enzyme. Analysis of S. mutans gtfA mutants revealed that the mutant strains were specifically impaired in the ability to use melibiose as a sole carbon source. S. mutans gafA mutant strains synthesized less α-galactosidase activity inducible by raffinose than wild-type strains. Melibiose (an inducer in wild-type strains) failed to induce significant levels of a-galactosidase in the mutant strains. We hypothesize that melibiose use by . mutans requires the interaction of the GtfA enzyme, or another gene product under the control of the gtfA promoter, with other gene product(s) involved …


Short Communication : ลักษณะผิดปกติเนื่องจากพยาธิไส้เดือน (Ascaris Suum) ในสุกร, พิพล สุขสายไทยชะนะ, บุญเลิศ อ่าวเจริญ, ปกรณ์ เอกปณิธานพงศ์, บุญมี ประเสริฐ, ทองสิน รอดกอง Mar 1989

Short Communication : ลักษณะผิดปกติเนื่องจากพยาธิไส้เดือน (Ascaris Suum) ในสุกร, พิพล สุขสายไทยชะนะ, บุญเลิศ อ่าวเจริญ, ปกรณ์ เอกปณิธานพงศ์, บุญมี ประเสริฐ, ทองสิน รอดกอง

The Thai Journal of Veterinary Medicine

สุกรพันธุ์ผสม อายุ 45 วัน จำนวน 3 ราย รายแรกแสดงอาการป่วย ซึม เบื่อ อาหาร อุจจาระเหลวสีเหลืองเป็นน้ำ แล้วตาย อัตราป่วยและตาย 13.04% (3/23) ผลการชันสูตรซากพบกระเพาะอาหารเกิดการทะลุและมีพยาธิไส้เดือนจำนวน 2 ตัวร่วมอยู่ สุกรรายที่ 2 แสดงอาการผอม เบื่ออาหาร ซีด มีอาการดีซ่านและตาย อัตราป่วยและตาย 3.33% (1/30) ผลการตรวจซากพบพยาธิไส้เดือนอุดตันอยู่ภายในท่อน้ำดี สุกรรายที่สามป่วยโดยถ่ายอุจจาระมีเลือดปนออกมาแล้วตาย อัตราป่วย 100% (20/20) และอัตราตาย 30% (6/20) ตรวจซากพบพยาธิไส้เดือนจำนวนมากอุดตันภายในลำไส้เล็ก


ประสิทธิภาพของวัคซีนกาฬโรคเป็ดชนิดเชื้อเป็น : การฉีดวัคซีนหลังการระบาดของโรคกาฬโรคเป็ด, เกรียงศักดิ์ สายธนู, นิคม ชัยศริริ, โสมทัต วงศ์สว่าง, สุขใจ ผลอำไพสถิตย์, เกรียงศักดิ์ พูนสุข, ทวีศักดิ์ อุตตมะธนากร, สันติ ถุงสุวรรณ Mar 1989

ประสิทธิภาพของวัคซีนกาฬโรคเป็ดชนิดเชื้อเป็น : การฉีดวัคซีนหลังการระบาดของโรคกาฬโรคเป็ด, เกรียงศักดิ์ สายธนู, นิคม ชัยศริริ, โสมทัต วงศ์สว่าง, สุขใจ ผลอำไพสถิตย์, เกรียงศักดิ์ พูนสุข, ทวีศักดิ์ อุตตมะธนากร, สันติ ถุงสุวรรณ

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ในระหว่างที่ทำการศึกษาประสิทธิภาพของวัคซีนกาฬโรคเป็ด ได้เกิดการระบาด ของโรคกาฬโรคเป็ดขึ้น โดยการเกิดโรคเกิดหลังการทดลอง ในวันที่ 6 หลังการฉีดวัคซีน ครั้งที่ 2 ซึ่งเป็นวันที่เป็ดเริ่มตาย จึงได้แบ่งเป็ดที่ไม่ได้รับวัคซีนมาก่อน และเลี้ยงรวมกันกับ เป็ดที่เป็นโรคออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกมีเป็ด 267 ตัว นำมาฉีดด้วยวัคซีนกาฬโรคเป็ดชนิด เชื้อเป็น ที่เหลือจำนวน 64 ตัว ไม่ได้รับการฉีดวัคซีน เป็ดทุกตัวเลี้ยงรวมกันในเจ้า ปรากฏ ว่าเป็นกลุ่มที่ฉีดวัคซีนจะตาย 54% ส่วนกลุ่มที่ไม่ได้รับวัคซีนเลยตาย 97% จากข้อมูลทางระบาดวิทยาชี้ให้เห็นว่า สาเหตุของการระบาดเกิดจากวัคซีนเชื้อตายที่ฆ่าเชื้อไม่หมด ผลการ ศึกษาสรุปได้ว่าการใช้วัคซีนเชื้อเป็นหลังการระบาดของโรคตั้งแต่เนิ่น ๆ จะป้องกันโรคได้บางส่วนเท่านั้น


โรคกระเพาะอาหารอักเสบจากเชื้อราในลูกสุกร : รายงานสัตว์ป่วย, บุญมี สัญญสุจจารี, กรองทอง มโนทัยอุดม Mar 1989

โรคกระเพาะอาหารอักเสบจากเชื้อราในลูกสุกร : รายงานสัตว์ป่วย, บุญมี สัญญสุจจารี, กรองทอง มโนทัยอุดม

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ผลการตรวจซากสุกรป่วยที่มีอาการอาเจียนและท้องร่วงรายหนึ่งพบว่ารอยโรคที่ เห็นด้วยตาเปล่า รอยโรคที่เห็นจากกล้องจุลทรรศน์ และผลทางโลหิตวิทยา สนับสนุนการเป็น โรคกระเพาะอาหารอักเสบที่เกิดจากเชื้อราที่มีลักษณะของโรค Mucormycosis พบแผลหลุม ขนาดใหญ่ในกระเพาะอาหารส่วน fundus และเมื่อตรวจดูด้วยกล้องจุลทรรศน์พบว่าภายใน แผลหลุมดังกล่าวมีเชื้อราที่มีลักษณะ Coarse, branching, non-septate hyphae มากมายซึ่งเชื้อราเหล่านี้ได้เข้าทำลายผนังเส้นเลือดในบริเวณแผลและทำให้เกิด thrombosis ด้วย ผลการตรวจทางโลหิตวิทยาพบสภาพ leukocytosis


ค่าโลหิตวิทยาบางประการในกระต่ายเลี้ยง, สมภพ นวีภาพ, อรวรรณ นวีภาพ Mar 1989

ค่าโลหิตวิทยาบางประการในกระต่ายเลี้ยง, สมภพ นวีภาพ, อรวรรณ นวีภาพ

The Thai Journal of Veterinary Medicine

กระต่ายจำนวน 64 ตัว เพศผู้และเมียอย่างละเท่ากัน อายุระหว่าง 4 เดือน ถึง 2 ปี จากตลาดและผู้เลี้ยงในเขตกรุงเทพมหานคร นำมาเจาะเลือดจากหัวใจโดยไม่ได้ ทำการสลบสัตว์ เพื่อศึกษาหาค่าโลหิตวิทยาได้ค่าเฉลี่ยต่าง ๆ ดังนี้ ค่าฮีมาโตคริต 36.13 ± 4.45% ค่าฮีโมโกลบิน 11.62 ± 1.50 กรัม จำนวนเม็ดเลือดแดง 5.89 ± 0.79 X 106 เม็ดต่อเลือดหนึ่ง ลบ.มม. จำนวนเม็ดเลือดขาว 10.36 ± 3.17 X 103 เม็ดต่อเลือดหนึ่ง ลบ.มม. จำนวนเม็ดเลือดขาวชนิดนิวโทรฟิล 54.06 ± 9.47% ลิมโฟไซต์ 45.31 ± 9.82% โมโนไซต์ 0.25 ± 0.47% อีโอซิโนฟิล 0.41 ± 0.68% และเบโซฟิล 0.09 ± 0.29% โดยที่ค่าเหล่านี้ไม่มีความแตกต่างในระหว่างเพศอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P > 0.05)


ผลของการผสมข้ามพันธุ์ต่อการผลิตกระต่าย Ii. การเจริญเติบโตของกระต่ายขุนหลังหย่านมถึงส่งตลาด, จันทร์จรัส เรี่ยวเดชะ, สุวรรณา กิจภากรณ์ Mar 1989

ผลของการผสมข้ามพันธุ์ต่อการผลิตกระต่าย Ii. การเจริญเติบโตของกระต่ายขุนหลังหย่านมถึงส่งตลาด, จันทร์จรัส เรี่ยวเดชะ, สุวรรณา กิจภากรณ์

The Thai Journal of Veterinary Medicine

ศึกษาการเจริญเติบโตของกระต่ายขุนหลังหย่านมเมื่ออายุ 6 สัปดาห์ (10) ถึงส่งตลาดเมื่ออายุ 14 สัปดาห์ (W8) เป็นเวลา 8 สัปดาห์ ในกระต่ายจำนวน 110 ตัว เกิดจากแม่พันธุ์ 4 กลุ่มพันธุ์คือ นิวซีแลนด์ไวท์ (NZW) พื้นเมือง (N) ลูกผสมระหว่างนิวซีแลนด์ไวท์กับกระต่ายพื้นเมืองทั้ง 2 แบบ (NXNZW และ NZWXN) ผสมกับพ่อพันธุ์นิวซีแลนด์ไวท์ พบว่ากลุ่มพันธุ์มีผลต่อน้ำหนักเริ่มต้น และส่งตลาด, น้ำหนักเพิ่มและอัตราการเจริญเติบโตหลังหย่านมของกระต่าย และประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ (P < .05) แต่ไม่มีผลต่อ ปริมาณอาหารขึ้นที่กระต่ายกิน ส่วนเพศไม่มีผลต่อน้ำหนักและลักษณะการเจริญเติบโตหลังหย่านม และไม่พบปฏิกิริยาร่วมระหว่างกลุ่มพันธุ์กับเพศของกระต่าย กระต่ายที่มีน้ำหนักหย่านม มากจะโตกว่ากระต่ายที่มีน้ำหนักหย่านมน้อยกว่าเมื่อส่งตลาดอายุเท่ากัน (P < .01) กระต่าย 100% นิวซีแลนด์ไวท์มีน้ำหนักตัวเพิ่ม และอัตราการเจริญเติบโตต่อวันต่ำกว่ากระต่ายลูกผสม 50 และ 75% นิวซีแลนด์ไวท์ (P < .05) และมีประสิทธิภาพในการเปลี่ยนอาหารเป็น เนื้อต่ำกว่ากระต่าย 75% นิวซีแลนด์ไวท์แบบ NZWXNXNZW) (P < .05) เมื่อเปรียบเทียบ ระหว่างกระต่าย 100 กับ 75% นิวซีแลนด์ไวท์ ปรากฏว่า กระต่ายขุน 75% นิวซีแลนด์ไวท์ มีน้ำหนักส่งตลาดมากกว่า กินอาหารน้อยกว่า แต่มีการเพิ่มน้ำหนักตัว และอัตราการเจริญ เติบโตสูงกว่าและประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อดีกว่ากระต่าย 100% นิวซีแลนด์ไวท์ (P < .05) ส่วนกระต่าย 50 และ 75% นิวซีแลนด์ไวท์ไม่แตกต่างกันในลักษณะการเจริญเติบโต และประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ และเมื่อเปรียบเทียบระหว่าง กระต่าย 75% นิวซีแลนด์ไวท์ 2 กลุ่มคือ NZW X (NXNZW) และ NZW X (NZWXN) ก็ได้ผลเช่นเดียวกัน ยกเว้นน้ำหนักหย่านม ดังนั้นการผลิตกระต่ายขุนจะใช้ระดับของนิวซีแลนด์ไวท์ 50 หรือ 75% ก็ได้แล้วแต่ความเหมาะสมของระบบการผลิต ถ้าใช้แม่พันธุ์ลูกผสม การผลิตกระต่ายขุน แบบ NZW X (NXNZW) มีแนวโน้มว่าจะมีประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารสูงสุด


Explorations, Vol. 5, No. 2, Kathleen Lignell, Mary Beth Pinto, Susan White, James M. Acheson, Mary Lee, John Field, Eric Beenfeldt, Robert Shepard, M. W. Blumenstock Jan 1989

Explorations, Vol. 5, No. 2, Kathleen Lignell, Mary Beth Pinto, Susan White, James M. Acheson, Mary Lee, John Field, Eric Beenfeldt, Robert Shepard, M. W. Blumenstock

Explorations — A Journal of Research

Articles include:

Cover: Brian McLain of New Harbor, measuring a V-notched lobster; slide taken by Robert C. Bayer, University of Maine Professor of Animal and Veterinary Sciences.

"April is Aquaculture Month Guest Editorial," by Kathleen Lignell

"Hospital Project Teams: Gaining Cooperation," by Mary Beth Pinto

"The Maine Lobster Institute: Science and Industry Working Together," by Susan White

"The Theory of Common Property Resources: Scientific Law or Myth?" by James M. Acheson

"What do Seedless Watermelons and Triploid Oysters have in Common?" by Mary Lee

"Technology and the Competitive Edge," by John Field and Eric Beenfeldt

"Growing our State Tree Faster: …


Acceptance Of Simulated Oral Rabies Vaccine Baits By Urban Raccoons, John Hadidian, Suzanne R. Jenkins, David H. Johnston, Peter J. Savarie, Victor F. Nettles, David M. Manski, George M. Baer Jan 1989

Acceptance Of Simulated Oral Rabies Vaccine Baits By Urban Raccoons, John Hadidian, Suzanne R. Jenkins, David H. Johnston, Peter J. Savarie, Victor F. Nettles, David M. Manski, George M. Baer

Veterinary Science and Medicine Collection

In summer 1986, a study was conducted to evaluate raccoon (Procyon lotor) acceptance of oral baits that could be used for rabies vaccination, One thousand wax-coated sponge bait cubes were filled with 5 mg of a seromarker (iophenoxic acid), placed in polyethylene bags, and hand-distributed in an 80 ha area within an urban National Park in Washington, D.C. (USA), After 3 wk, target and nontarget animals were trapped and blood samples collected to evaluate bait uptake. Thirty-three of 52 (63%) raccoons had elevated blood iodine levels indicating they had eaten at least one bait, 13 (25%) were negative, and six …


Cenobium 1989, Louisiana State University And Agricultural And Mechanical College, School Of Veterinary Medicine, Laura Freeman Jan 1989

Cenobium 1989, Louisiana State University And Agricultural And Mechanical College, School Of Veterinary Medicine, Laura Freeman

Cenobium Yearbook

Cenobium began publication in 1977 and continued through 1990. Produced by students, the yearbooks are a chronicle of the daily life and the special events experienced by veterinary students at the LSU School of Veterinary Medicine.


Separation Of Turkey Heterophils From Blood Using Two-Step Ficoll-Hypaque Discontinuous Gradients, Kenneth S. Latimer, Ingrid M. Kircher, Claire B. Andreasen Jan 1989

Separation Of Turkey Heterophils From Blood Using Two-Step Ficoll-Hypaque Discontinuous Gradients, Kenneth S. Latimer, Ingrid M. Kircher, Claire B. Andreasen

Claire B. Andreasen

A method is presented to separate turkey heterophils from anticoagulated whole blood using two-step Ficoll-Hypaque discontinuous gradients and ammonium chloride lysis of contaminating erythrocytes. Heterophils can be isolated from multiple blood samples within 3 to 4 hours. Using this technique, 66.4 +- 18.4% (mean +- standard deviation) of blood heterophils were harvested. Final cell isolates averaged 96.0 +- 2.9% heterophils with few contaminating eosinophils (2.5 +- 2.3%) or basophils (1.6 +- 1.8%). Cell viability, as determined by trypan blue dye exclusion, was 98.0 +- 1.4%.