Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Medicine and Health Sciences Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Articles 1 - 2 of 2

Full-Text Articles in Medicine and Health Sciences

Antibacterial And Antibiofilm Efficacy Of Pineapple Hump (Ananas Comosus) On Porphyromonas Gingivalis In Vitro, Abdul Gani Soulissa, Billy Lombardo, Armelia Sari Widyarman Dec 2021

Antibacterial And Antibiofilm Efficacy Of Pineapple Hump (Ananas Comosus) On Porphyromonas Gingivalis In Vitro, Abdul Gani Soulissa, Billy Lombardo, Armelia Sari Widyarman

Journal of Dentistry Indonesia

Background: Periodontal disease is one of the most prevalent oral health problems in Indonesia that affects supporting tissues of the teeth. Porphyromonas gingivalis plays an important role in the pathogenesis of periodontal disease. Alternative therapy with natural plant extracts, including pineapple (Ananas comosus) hump extract may inhibit the growth of bacteria that cause periodontal disease. Objective: To determine the effect of pineapple hump extract on bacterial growth and adhesion of Porphyromonas gingivalis biofilms. Method: The bacterial inhibition test was performed by the agar well diffusion method, and biofilm density measurements were made using the biofilm assay method. Results: Pineapple hump …


การระบุเชื้อพอร์ฟีโรโมแนส จิงจิวาลิส ที่นํามาจากร่องลึกปริทันต์อักเสบชนิดแอดวานซ์ โดยวิธีพีซีอาร์, จินตกร คูวัฒนสุชาติ Sep 2006

การระบุเชื้อพอร์ฟีโรโมแนส จิงจิวาลิส ที่นํามาจากร่องลึกปริทันต์อักเสบชนิดแอดวานซ์ โดยวิธีพีซีอาร์, จินตกร คูวัฒนสุชาติ

Chulalongkorn University Dental Journal

วัตถุประสงค์ การศึกษาครั้งนี้ ต้องการนําวิธีพีซีอาร์ มาใช้ยืนยันการระบุเชื้อพอร์ฟีโรโมแนส จึงจิวาลิส ที่นํามาจาก ร่องลึกปริทันต์อักเสบชนิดแอดวานซ์ของผู้ป่วยจํานวน 3 ราย วัสดุและวิธีการ ทําการแยกเชื้อแบล็คพิคเม็นเต็ด แบคทีรอยดีส (3 ชนิด ประกอบด้วยเชื้อหมายเลข 1, 2 และ 3) จากเชื้อที่ได้จากร่องลึกปริทันต์ของผู้ป่วยโรคปริทันต์อักเสบชนิดแอดวานซ์ 3 ราย โดยผู้ป่วยเป็นชาวไทยที่มารับ การรักษาโรคปริทันต์จากภาควิชาปริทันตวิทยา คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทําการเพาะเลี้ยง เชื้อที่แยกมาได้ (ทั้ง 3 ชนิดนี้) ลงบนจานอาหารเลี้ยงเชื้อพวกเบรนฮาร์ทอินฟิวชั่นยีสต์เอ็กแทรกบลัดชีพอาการใน ตู้อบที่ปราศจากออกซิเจนที่มีไนโตรเจนร้อยละ 80 ไฮโดรเจนร้อยละ 10 และคาร์บอนไดออกไซด์ร้อยละ 10 ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 วัน แล้วนําเชื้อแบล็คพิคเม็นเต็ด แบคทีรอยดีส (ทั้ง 3 ชนิดที่เพาะเลี้ยง ขึ้นเรียบร้อยแล้ว) ไปทําการแยกดีเอ็นเอ สําหรับการทําพีซีอาร์ เพื่อทําการระบุชนิดของเชื้อต่อไป ผลการศึกษา ผลที่ได้จากการศึกษา ปรากฏว่า เชื้อแบล็คพิคเซ็นเต็ด แบคทีรอยดีส 3 ชนิด ที่ประกอบด้วยเชื้อ หมายเลข 1, 2 และ 3 นั้น เชื้อหมายเลข 1 กับเชื้อหมายเลข 2 ให้แถบกับไพรเมอร์พีจี (19+20) กับไพรเมอร์พีจี (21+22) ซึ่งตรงกับกลุ่มควบคุมบวกที่ให้แถบกับไพรเมอร์พีจี (19+20) กับไพรเมอร์พีจี (21+22) ส่วนเชื้อหมายเลข 3 ไม่ให้แถบกับไพรเมอร์พีจี (19+20) กับไพรเมอร์พีจี (21+22) สรุป วิธีพีซีอาร์เป็นวิธีที่เหมาะต่อการนํามาใช้ระบุเชื้อพีจีจากผู้ป่วยด้วยโรคปริทันต์อักเสบ เพราะสามารถระบุเชื้อพีจีได้รวดเร็วและแม่นยํา (ว ทันต จุฬาฯ 2549;29:161-170)