Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Architecture Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Articles 1 - 30 of 96

Full-Text Articles in Architecture

Talking About Pen Sao In The 1950s-60s: An Exploration Through Discussion On A History Of Design And Manners, Juthamas Tangsantikul Dec 2018

Talking About Pen Sao In The 1950s-60s: An Exploration Through Discussion On A History Of Design And Manners, Juthamas Tangsantikul

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

This paper presents a case study on the role objects played in the construction of Thai women as social subjects in the period of the American Era and Development. Based on the analysis of popular Thaietiquette manual Kritsana son nong: Naenam marayat thi ngam haeng araya samai, an oral history was generated through conducting interviews with women growing up in the period. The conversations brought to light the term pen sao and illustrated that while certain objects and practices were portrayed generally as signs of modernity and civilisation, they could also be perceived as suspicious when being viewed as signs …


A Study On The Relationship Of Spatial Planning Aspects In Occurrence Of Street Crimes In Dhaka City, Urmee Chowdhury, Ishrat Islam Dec 2018

A Study On The Relationship Of Spatial Planning Aspects In Occurrence Of Street Crimes In Dhaka City, Urmee Chowdhury, Ishrat Islam

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

Street crime, like mugging and vehicle theft, are the significant crime problems in every developing city of the world. The study area for this research is Dhaka city, which is experiencing an situation ofincreasing street crime. This research focuses on the relationship between spatial planning and street crimes and tries to recommend different strategies for prevention of crime and violence in the streets of Dhaka city by proposing urban design and infrastructure planning. The study tries to assess the relationship from macro tomicro level through different spatial and physical planning components. For the detail level study, four Thana (police station) …


A Study Of Phayao's Historical Trading Communities To Encourage Recognizing Local History And To Promote Cultural Tourism, Phakthima Wangyao Dec 2018

A Study Of Phayao's Historical Trading Communities To Encourage Recognizing Local History And To Promote Cultural Tourism, Phakthima Wangyao

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

Phayao is considered to be a city with a history of more than 700 years after Chao Luang Wong had evacuated people from Lampang and relocated them the city of Phayao. In order to gain useful information to promote cultural tourism, a study of Phayao's commercial community included its history, architectural styles, and the perceptions of people in the community. The methods used for research were collecting historical and physical data as well as conducting surveys. The area studied was divided into four groups which were determined by the characteristics of the area. Based on the study of data, there …


Site Selection Of Housing Development Projects In Thailand And Malaysia Border Trade Areas By Modified Sieve Analysis, Treechart Loakaewnoo Dec 2018

Site Selection Of Housing Development Projects In Thailand And Malaysia Border Trade Areas By Modified Sieve Analysis, Treechart Loakaewnoo

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

This study sought to select the appropriate sites for the housing projects in Thailand and MalaysiaBorder Trade areas. The Modified Sieve Analysis was adopted as the instrument for searching and selecting sites. The Modified Sieve Analysis is the technique used to assess the urban expansion, which has been modified from the traditional sieve analysis by overlaying the map with its scores and calculate the total scores for selecting the suitable sites for the urban and housing development. The findings from this study help identify the suitable sites to build housing projects in the four cities - three sites for each.


Applying The Analytical Hierarchy Process (Ahp) Approach To Assess An Area-Based Innovation System In Thailand, Suwadee T. Hansasooksin, Nij Tontisirin Dec 2018

Applying The Analytical Hierarchy Process (Ahp) Approach To Assess An Area-Based Innovation System In Thailand, Suwadee T. Hansasooksin, Nij Tontisirin

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

This paper examines the criteria that is significant in building an area-based innovation system inThailand. The Analytical Hierarchy Process (AHP) questionnaire was distributed to experts in thearea of urban planning, development, and policy studies. They assessed and prioritized indicators that could shape the innovation system on a regional scale. The study found that enhancing human capital, innovation collaboration, innovation capability, cultural/knowledge resources, and innovation capacity is more important, rather than focusing on physical infrastructure development. This implies that major elements for an area-based innovation system in Thailand highly depend on citizen, institutions, and linkages across sectors.


Analysis Of The Difference Between Two Approaches To Assessing Housing And Community Standards, Kundoldibya Panitchpakdi, Tirawat Pimwern, Thammanoon Laohpiyavisut Dec 2018

Analysis Of The Difference Between Two Approaches To Assessing Housing And Community Standards, Kundoldibya Panitchpakdi, Tirawat Pimwern, Thammanoon Laohpiyavisut

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

This comparative study on housing and community comfortable living performance standards is a partof a participatory research conducted to meet the needs addressed by the Thai National HousingAuthority to improve existing housing and community standards. The research team conducted a case study of the Rim Khwae Awm Community in Samut Songkhram Province. This community had been identified as a model of comfortable living. This article presents the results of an analysis of comfortable living standards derived from a review of related literature and standards derived from the participatory process with the community case study. This research found that the standards …


Perception Of Teachers And Parents On Appropriate Physical Environment For Learning Through Play In Malaysian Preschools, Pearly Pei Li Lim, Azizi Bahauddin, Nor Fadzila Aziz Dec 2018

Perception Of Teachers And Parents On Appropriate Physical Environment For Learning Through Play In Malaysian Preschools, Pearly Pei Li Lim, Azizi Bahauddin, Nor Fadzila Aziz

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

As physical environments play a role in supporting learning though play (LTP) in preschools, usersand interest group's perceptions of appropriate physical environment features for LTP become significant. This article examines perceptions of teachers and parents concerning an appropriate indoor physical environment for LTP in Malaysian preschools. A five-point Likert s cale and preference ranking were employed to understand teachers' and parents' perception of six features including sizing of spaces; material availability; spaces for creation and respite; indoor-outdoor connection; and provision of challenges. The findings included; variety of materials, spaces for personalization, spaces for challenges and good indoor-outdoor connection.


Economicfactors Affecting The Changes In Temple Architecture In The Reign Of King Rama Ix, Pymporn Chaiyaporn Dec 2018

Economicfactors Affecting The Changes In Temple Architecture In The Reign Of King Rama Ix, Pymporn Chaiyaporn

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

Economic factors reflecting the prosperity of foreign trades from the Ayutthaya to the Rattanakosinperiods, brought about growth and changes in dwellings. These factors also supported and maintained Buddhism by restoring, reconstructing, and building temples. Traditions changed in the reign of King Bhumibol Adulyadej, Rama IX, due to a capitalist economic system. This system, which has expanded its influence over land use planning, tourism development, and economic revitalization, led to different directions in the development of temple architecture. This article studies the roles of an economic system which affected the design of temple architecture during the Buddhawat area. The research was …


A Low Income Housing Needs And Affordability For Thailand's Strategic National Plan During 2017-2037, Chaweewan Denpaiboon, Kitti Limskul, Sarich Chotipanich Dec 2018

A Low Income Housing Needs And Affordability For Thailand's Strategic National Plan During 2017-2037, Chaweewan Denpaiboon, Kitti Limskul, Sarich Chotipanich

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

This paper has developed a model to forecast the housing needs and affordability of the low-incomehouseholds in Thailand 2018-2037. The model has applied the baseline data from the Socioeconomicsurvey (SES 2015). Considering official population projections by the changing age structure and household formations based on income, forecasts can be made about housing needed by 'Renters', who are the target group of the low-income households. Given, heuristic scenarios on households' income growth over time, an initial planning model for affordable units of housing by types for renters has been proposed. Effective government policy to mobilize social resource for this low-income household …


Land-Use, Street Configuration And Pedestrian Volume:The Case Of A Historic Town, Mymensingh, Bangladesh, Naimul Aziz Dec 2018

Land-Use, Street Configuration And Pedestrian Volume:The Case Of A Historic Town, Mymensingh, Bangladesh, Naimul Aziz

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

This study explores the relative connections among pedestrian movement patterns, land use and street configurations by analyzing the pedestrian volume, existing land use patterns as well as the street configuration of Mymensingh. Mymensingh is a historic town in Bangladesh which was established by the British Colonists more than 200 years ago along the river Brahmaputra. The street patterns of Mymensingh was developed by the fusion of the wide streets made by British Colonists and the narrow streets made by the local inhabitants. The juxtaposition of these street patterns created a unique type of street configuration in Mymensingh. According to Space …


Tha Tien: Case Study Of Use Transformation, Peeraya Boonprasong Jun 2018

Tha Tien: Case Study Of Use Transformation, Peeraya Boonprasong

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

Use transformation is a process of changing a place within a transforming context through renewed placemaking. The framework for use transformation within a place attachment process is to understandthe responsive behaviour to place bonding when applying the process of changing use. People, process and place are analyzed by the manner of change relevant to existing place. This paper is a selective case study. The theoretically selected Tha Tien is a representative historic market that is facing development and displacement from a rapidly growing tourist market and fashionable urban lifestyle.


Students' Perceptions Of Shared Living In A University Hostel At Dhaka, Bangladesh:A Post Occupancy Evaluation, Asma Siddika, Zannatul Ferdous Jun 2018

Students' Perceptions Of Shared Living In A University Hostel At Dhaka, Bangladesh:A Post Occupancy Evaluation, Asma Siddika, Zannatul Ferdous

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

Hostels are popular accommodations for students. Urban based educational systems in Bangladesh encourage students to come to the city where shared living is preferable option for them. Theseaccommodations are inadequate, are highly populated and shared rooms are common scenarios. However, although shared living raises the question of personal space, it facilitates better use of resource and is a feature of sustainability. This study examines the students' perception of shared living at one of the leading universities in Bangladesh. A post-occupancy evaluation is used to address physical and social variables. By assessing residential satisfaction, this paper hopes to provide valuable feedback …


Changing Scenarios Of Public Open Space In A British Colonial City: The Case Of The Ramna Area, Dhaka, Salma Begum Jun 2018

Changing Scenarios Of Public Open Space In A British Colonial City: The Case Of The Ramna Area, Dhaka, Salma Begum

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

Dhaka is considered as one of the fastest growing megacity with a population of 15 million ranking 9th among the world. In the process of urbanization, throughout its history, many part of Dhaka has gonethrough many physical and functional transformations. Ramna area which was produced as a pleasure garden during Mughal period is one of those parts that has gone through consecutive manipulations. This has become one of the major public open space due to its uniqueness. This paper attempts to unfold the changing scenario of present Ramna Area.


Paradigm Of Eco-Urban-Agriculture For The Sustainable City:Integrating The Concept For Urban Dhaka, Ayasha Siddiqua Jun 2018

Paradigm Of Eco-Urban-Agriculture For The Sustainable City:Integrating The Concept For Urban Dhaka, Ayasha Siddiqua

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

The geographical location of Bangladesh is gifted with enormous natural recourse: water, alluvial land, suitable climatic conditions for bio diversity and other natural assets. The capital, Dhaka, surrounded by rivers on four sides, was once a blue-green-built environment offering a healthy living atmosphere for its habitants. The city was dotted with huge and crisscrossed water bodies, a tolerable population density, and enough open spaces. Urban and peri-urban areas of the city complemented its food demand which subsequently maintained the environmental equilibrium. The modern concept of eco-urban-agriculture will definitely be beneficial in such a dense city which is rapidly losing its …


Proposing A Conservation Management Plan For Bara Katra, Shirajom Monira Khondker, Mehnaz Tabassum Jun 2018

Proposing A Conservation Management Plan For Bara Katra, Shirajom Monira Khondker, Mehnaz Tabassum

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

Dhaka, the capital of independent Bangladesh, since 1971 has a historical background of nearly 400 years which is expressed and traversed as a symbol of power, dignity and artistry. In this research the authors selected a unique historical and architectural monument of old Dhaka, named "Bara Katra". This historical artifact bears testimony to the style and design of Mughal architecture in Bengal that served the purpose of Caravan sarai. It is undoubtedly a magnificent edifice of grand scale and one of the most important historic remains playing an important role in representing the cultural heritage or glorious past of Bengal. …


Differences In Patterns And Factors Influencing Preference And Willingness To Pay For Physical Developments Of A Streetscape In The Old Town Of Chiang Mai, Thailand, Apichoke Lekagul Jun 2018

Differences In Patterns And Factors Influencing Preference And Willingness To Pay For Physical Developments Of A Streetscape In The Old Town Of Chiang Mai, Thailand, Apichoke Lekagul

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

This paper identifies the influences of environmental characteristics and personal factors on preference and willingness to pay (WTP) for the physical development of a streetscape, and the relationshipbetween preference and WTP. A questionnaire with computerized montage pictures portraying streetscape development solutions was used to collect data from 440 respondents in Chiang Mai city. Tobit models were formed to analyze the preference and WTP dependent variables with environmental and personal characteristic variables. The results revealed differences in patterns as well as influencing factors of preference and WTP for the development solutions. Preference was significantly influenced only by environmental variables, while WTP …


Influences Of Urban Infrastructure Development On Urban Forms And Lifestyle Of Greater Bangkok, Chaweewan Denpaiboon, Kundoldibya Panitchpakdi, Hidehiko Kanegae, Pattamon Selanon, Yanisa Boonnun Jun 2018

Influences Of Urban Infrastructure Development On Urban Forms And Lifestyle Of Greater Bangkok, Chaweewan Denpaiboon, Kundoldibya Panitchpakdi, Hidehiko Kanegae, Pattamon Selanon, Yanisa Boonnun

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

By considering the influences of urban infrastructure development impact on land-use and structure, the objectives of this study are; (1) to categorizing urban networks into five index factors for analyzinga pattern of urban form, and (2) to analyze a relationship between urban forms and socioeconomic behavior with uses of urban geo-simulation modelling. The study employed the selection of four areas of study in the Greater Bangkok area. A measurement of each index of urban networks was analysis and then an analysis of the mutual relationships between the two variables was made. The findings demonstrate that residents in the areas understand …


Architects' Reflection Of Cities: Yenagoa Losing City, Lost Dream Of The Oil Rich Niger Delta, Allison John, Dimabo Fenibo, Crispin Allison, Gift Josiah Jun 2018

Architects' Reflection Of Cities: Yenagoa Losing City, Lost Dream Of The Oil Rich Niger Delta, Allison John, Dimabo Fenibo, Crispin Allison, Gift Josiah

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

A city's character influences behaviour while people's behaviour determines a city's character. As a development engine, the authors described cities impressions derived from media and how media caninfluence perceptions of Yenagoa, the oil rich city of the Niger Delta. The city can be described as a life support system with policies and human actions affecting a city. How Yenagoa has performed as perceived by visitors and its users 21years after. It will also include a discussion of the significance of cultural relativism in the developmental evolution of Yenagoa. It concludes by suggesting the imperative need for orientation of the Yenagoa's …


Re-Reading Dutch Architecture In Relation To Social Issues From The 1940s To The 1960s, Pat Seeumpornroj Jun 2018

Re-Reading Dutch Architecture In Relation To Social Issues From The 1940s To The 1960s, Pat Seeumpornroj

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

This paper seeks to connect the work of J.J.P. Oud, Aldo van Eyck, and Herman Hertzberger, the three Dutch protagonists to the dominant social issues that occurred from the 1940s to the 1960s. Theyaddressed the following issues: poverty, the housing shortages from the pre-World War II period, the sociopolitical issues in the collective expression of the public, rapid economy recovery, large population growth, and white-collar labor in the post-World War II period. The author will examine the role played by the Dutch government in advancing a progressive social agenda, and will demonstrate both continuities and discontinuities between them.


The Motorcycle Taxi Driver As A Community Reporter: Guidelines For The Promotion Of A Marginalized Group's Participation In The Improvement Of Public Space By Using Information And Communication Technology, Nattapong Punnoi Jun 2018

The Motorcycle Taxi Driver As A Community Reporter: Guidelines For The Promotion Of A Marginalized Group's Participation In The Improvement Of Public Space By Using Information And Communication Technology, Nattapong Punnoi

NAKHARA (Journal of Environmental Design and Planning)

Motorcycle taxi drivers are a group of laborers in the informal sector who are socially shunned and are often harassed by the authorities and local infl uential people. Research has found that motorcycletaxi drivers have the potential to gather information concerning problems occurring in public spaces to be compiled into a database to encourage problem solving. Furthermore, smartphones are found to be a tool that assists motorcycle taxi drivers in effectively collecting information relating to problems that they encounter. Thus, the researcher, in collaboration with motorcycle taxi driver groups, has developed key concepts and an Information and Communication Technology (ICT) …


การปรับปรุงคุณภาพเชิงทัศน์ศาลากลางจังหวัดนนทบุรี (หลังเก่า), ชาลิสา บุญมณี Jan 2018

การปรับปรุงคุณภาพเชิงทัศน์ศาลากลางจังหวัดนนทบุรี (หลังเก่า), ชาลิสา บุญมณี

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ศาลากลางจังหวัดนนทบุรี (หลังเก่า) ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานโดยกรมศิลปากร ในปี พ.ศ. 2524 จากการขยายตัวของเมืองส่งผลให้ทัศนียภาพโดยรอบโบราณสถานแห่งนี้สูญเสียคุณค่าด้านความงามทางภูมิทัศน์ไปอย่างรวดเร็ว วิทยานิพนธ์นี้จึงมีจุดมุ่งหมายเพื่อนำเสนอแนวทางการปรับปรุงคุณภาพเชิงทัศน์ของศาลากลางแห่งนี้ โดยจากการวิเคราะห์และประเมินคุณภาพเชิงทัศน์พบว่าจุดมองสำคัญของโบราณสถานแห่งนี้มีจำนวน 5 จุด และได้นำเสนอแนวทางการออกแบบปรับปรุงคุณภาพเชิงทัศน์ของจุดมองดังกล่าวออกเป็น 3 รูปแบบ ได้แก่ รูปแบบการจัดระเบียบ รูปแบบเรขาคณิต และรูปแบบสวนสาธารณะ จากนั้นจึงได้สร้างภาพจำลองแสดงการปรับปรุงคุณภาพเชิงทัศน์ของแต่ละจุดมองตามแนวทางดังกล่าว ทั้งนี้เพื่อนำไปใช้เป็นภาพตัวแทนภูมิทัศน์สำหรับการประเมินคุณภาพเชิงทัศน์ของจุดมองภายหลังการปรับปรุงในแบบสอบถาม โดยผู้ตอบแบบสอบถามแบ่งออกเป็นกลุ่มคนทั่วไป คนในพื้นที่ และผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบภูมิทัศน์ จำนวนกลุ่มละ 40 คน รวมทั้งสิ้น 120 คน ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบสวนสาธารณะเป็นแนวทางที่ได้รับการประเมินว่ามีความสวยงามสูงที่สุด รองลงมาคือรูปแบบเรขาคณิตและรูปแบบการจัดระเบียบตามลำดับ โดยกลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบภูมิทัศน์มักประเมินความสวยงามของภาพตัวแทนภูมิทัศน์ต่ำกว่ากลุ่มคนทั่วไปและคนในพื้นที่ ดังนั้นจึงนำเสนอว่าการปรับปรุงคุณภาพเชิงทัศน์ศาลากลางจังหวัดนนทบุรี (หลังเก่า) ด้วยการออกแบบภูมิทัศน์ในรูปแบบสวนสาธารณะ ประกอบกับการลดพื้นที่ดาดแข็งและเพิ่มพื้นที่ปลูกต้นไม้เพื่อเพิ่มความร่มรื่น การจัดแบ่งพื้นที่เพื่อส่งเสริมกิจกรรมการพักผ่อนหย่อนใจหรือการออกกำลังกายสำหรับคนทุกเพศ ทุกวัย จะสามารถช่วยส่งเสริมความงามของภูมิทัศน์เมืองและเพิ่มคุณค่าของโบราณสถานแห่งนี้อีกด้วย


การวิเคราะห์โครงสร้างและพลวัตที่ราบลุ่มสามเหลี่ยมแม่น้ำเจ้าพระยา, วรเมธ ศรีวนาลักษณ์ Jan 2018

การวิเคราะห์โครงสร้างและพลวัตที่ราบลุ่มสามเหลี่ยมแม่น้ำเจ้าพระยา, วรเมธ ศรีวนาลักษณ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ที่ราบลุ่มสามเหลี่ยมแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นภูมิทัศน์ที่เกิดจากกระบวนการธารน้ำ (Fluvial Process) การสะสมของตะกอนแม่น้ำจนเกิดเป็นที่ราบกว้าง ตะกอนเหล่านี้มากับน้ำหลากและท่วมขังเต็มที่ราบลุ่มสามเหลี่ยมแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วงฤดูฝน เมื่อสิ้นฤดูฝนและน้ำที่ไหลหลากมาจากพื้นที่ตอนบนลดลง น้ำในที่ราบลุ่มสามเหลี่ยมแม่น้ำเจ้าพระยาจะลดลงและแห้งไป มีลักษณะเป็นที่ราบน้ำท่วมตามฤดูกาล น้ำที่หลากสู่ที่ราบลุ่มสามเหลี่ยมแม่น้ำเจ้าพระยานั้นทำให้เกิดการทับถมของตะกอนแม่น้ำนำมาซึ่งความอุดมสมบูรณ์ แต่ในปัจจุบันการพัฒนาต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนที่ราบลุ่มสามเหลี่ยมแม่น้ำเจ้าพระยา เช่น การขยายตัวของเมือง การสร้างโครงสร้างป้องกันน้ำท่วมจากแม่น้ำเจ้าพระยา รวมถึงการทำระบบชลประทานทำให้ระบบน้ำ (Water Regime) ของพื้นที่เปลี่ยนไป วิทยานิพนธ์มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์โครงสร้างเชิงภูมิทัศน์และการเปลี่ยนแปลงของที่ราบลุ่มสามเหลี่ยมแม่น้ำเจ้าพระยาด้วยการใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และการแปลตีความข้อมูลจากดาวเทียวด้วยสายตา เพื่อบ่งชี้ถึงผลของการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อหน้าที่เชิงภูมิทัศน์ของที่ราบลุ่มสามเหลี่ยมแม่น้ำเจ้าพระยา จากการวิจัยพบว่าสิ่งปลูกสร้างมีการขยายตัวออกไปยังพื้นที่นาซึ่งเป็นที่ลุ่มต่ำที่ทำหน้าที่รับน้ำหลากในช่วงฤดูน้ำหลาก อีกทั้งการพัฒนาต่างๆ เช่น การพัฒนาระบบชลประทานทำให้พื้นที่แยกออกเป็นส่วน พื้นที่ที่เคยเป็นที่อยู่ของน้ำในฤดูน้ำหลากลดน้อยลง ส่งผลทำให้น้ำหลากกลายเป็นปัญหาน้ำท่วมในปัจจุบัน ดังนั้นการพัฒนาเมืองในที่ราบลุ่มสามเหลี่ยมแม่น้ำเจ้าพระยานั้นสิ่งที่ควรคำนึงถึง คือ พื้นที่รับน้ำหลาก และเมืองควรให้น้ำไหลผ่านได้


การจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรมด้วยความยืดหยุ่นของชุมชน กรณีศึกษา : หมู่บ้านแม่กำปอง จังหวัดเชียงใหม่, ธีรเนตร เทียนถาวร Jan 2018

การจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรมด้วยความยืดหยุ่นของชุมชน กรณีศึกษา : หมู่บ้านแม่กำปอง จังหวัดเชียงใหม่, ธีรเนตร เทียนถาวร

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษา "ภูมิทัศน์วัฒนธรรม" ร่วมกับ "ความยืดหยุ่นของชุมชน" สร้างความเข้าใจในเรื่องการใช้ทรัพยากรในการปรับตัวของพื้นที่ โดยแนวคิดภูมิทัศน์วัฒนธรรมจะสร้างความเข้าใจในเรื่องคุณค่า ในขณะที่แนวคิดความยืดหยุ่นของชุมชนจะใช้ในการพิจารณาความสามารถในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงจากเหตุการณ์ต่างๆ ที่เข้ามากระทบ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเปลี่ยนแปลงของภูมิทัศน์วัฒนธรรมโดยอาศัยกรอบความยืดหยุ่นของชุมชน พิจารณากลไกและทุนที่ชุมชนใช้เป็นฐานในการปรับตัว รวมทั้งวิเคราะห์การจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรม ผลจากการปรับตัวที่เกิดขึ้นกับสถานที่ทางวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงคุณค่าและความแท้ และปัจจัยเสี่ยงที่จะส่งผลต่อความยั่งยืนของภูมิทัศน์วัฒนธรรม เพื่อเสนอข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการจัดการพื้นที่ งานวิจัยฉบับนี้ได้เลือกศึกษาภูมิทัศน์วัฒนธรรมแม่กำปอง จ.เชียงใหม่ ซึ่งเป็นหนึ่งในภูมิทัศน์วัฒนธรรมที่ได้รับผลกระทบจากการท่องเที่ยว โดยเป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ที่ศึกษาข้อมูลภาคเอกสาร การสำรวจภาคสนาม และการสัมภาษณ์เชิงลึก และนำมาวิเคราะห์ตามทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง ผลจากการวิจัยพบว่า ชุมชนแม่กำปองมีความสามารถในการปรับตัวอย่างต่อเนื่องจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ชุมชนมีความยืดหยุ่นทั้งในระดับกลับคืนสู่สภาพเดิมได้ ระดับปรับตัวไปสู่สภาพที่ดีขึ้น และระดับแปรเปลี่ยนไปสู่สภาพใหม่ ซึ่งชุมชนแม่กำปองได้มีการเปลี่ยนแปลงการให้คุณค่าและความหมายต่อสภาพแวดล้อมและเปลี่ยนไปสู่สภาพใหม่ในลักษณะ "ผู้ประกอบกิจการภายใน" ในเรื่องการจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรม พบว่าองค์กรชุมชนทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการจัดการหลักระหว่างกลุ่ม ซึ่งประกอบด้วย ภาครัฐและสถาบันการศึกษา ผู้ประกอบกิจการเครื่องเล่นซิปไลน์จากบริษัทต่างประเทศ ผู้ประกอบกิจการภายนอก และผู้ประกอบกิจการภายใน โดยองค์กรชุมชนได้นำฐานทรัพยากรทางสังคมวัฒนธรรมมาเป็นกลไกในการจัดการพื้นที่ ได้แก่ กฎชุมชน โครงสร้างสังคม องค์ความรู้และความเชื่อดั้งเดิม ทั้งนี้ การวิจัยพบว่าการสร้างสรรค์และต่อยอดฐานทรัพยากรจากองค์ความรู้เชิงเกษตรกรรมดั้งเดิม ที่ผสมผสานไปกับความรู้และทักษะใหม่ สามารถคงความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนและสภาพแวดล้อม และทำให้เกิดนวัตกรรมในการจัดการพื้นที่ ซึ่งนอกจากเป็นการรักษาฐานทรัพยากรเดิม การคงความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนและสภาพแวดล้อมไว้ได้นั้น ยังเป็นแก่นแท้ของการจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรม จากผลการศึกษาดังกล่าว งานวิจัยฉบับนี้จึงมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย คือ หากพื้นที่มีการเพิ่มความหนาแน่นและขยายตัวของกลุ่มบ้าน ชุมชนควรมีการวางแผนการจัดการใช้ประโยชน์ของพื้นที่อย่างรอบคอบ หากชุมชนเสียโอกาสที่จะได้รับความรู้และทักษะใหม่จากการจำกัดกลุ่มคนภายนอก ชุมชนควรมีการเปิดรับการเรียนรู้จากแหล่งอื่นอย่างต่อเนื่อง และหากภูมิทัศน์วัฒนธรรมมีแนวโน้มที่จะสูญเสียคุณค่าและความแท้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและองค์กรชุมชนควรสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของทรัพยากรทางวัฒนธรรมให้กับชุมชน ซึ่งถือเป็นฐานทรัพยากรในการปรับตัวที่สำคัญ เพื่อให้เกิดความยั่งยืนทางวัฒนธรรม


แบบทาวน์เฮาส์สำหรับการก่อสร้างด้วยชิ้นส่วนคอนกรีตสำเร็จรูป, นฤนาท เกตุพันธ์ Jan 2018

แบบทาวน์เฮาส์สำหรับการก่อสร้างด้วยชิ้นส่วนคอนกรีตสำเร็จรูป, นฤนาท เกตุพันธ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ จะศึกษาสภาพและปัญหา ในการก่อสร้างทาวน์เฮาส์ ด้วยชิ้นส่วนคอนกรีตสำเร็จรูป โดยเลือกทาวน์เฮาส์แบบพฤกษาวิลล์ ของ บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จำกัด(มหาชน) เป็นกรณีศึกษา เพื่อเสนอแนะรูปแบบชิ้นส่วนคอนกรีตสำเร็จรูปที่เหมาะสม จากการศึกษาพบว่า ปัจจุบันทาวน์เฮาส์ บริษัท พฤกษาฯ ที่สร้างในระบบชิ้นส่วนคอนกรีตสำเร็จรูป ใช้ระยะเวลาก่อสร้าง 20-27 วัน มีขนาดและพื้นที่ใช้สอยต่างๆ ได้แก่ ขนาดหน้ากว้าง 5.00, 5.50 และ 5.70 เมตร ความสูง 2-3 ชั้น ห้องนอน 2-3 ห้อง ห้องน้ำ 2-3 ห้อง และที่จอดรถ 1-2 คัน แม้ว่ารูปแบบด้านหน้าส่วนใหญ่จะคล้ายกัน แต่เมื่อชิ้นส่วนผนัง มีหลายรูปแบบ ทั้งขนาดและช่องเปิด จึงทำให้เกิดปัญหาในการผลิต ชิ้นส่วนผนัง ที่มีระยะริมช่องเปิดน้อย ทำให้ต้องตัดตะแกรงเหล็กเสริม การผลิตจึงล่าช้า และยังมีปัญหาแตกหัก ในระหว่างการขนส่งและติดตั้งอีกด้วย นอกจากนี้มีปัญหาน้ำรั่วซึมบริเวณรอยต่อระหว่างแผ่น เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว จึงปรับเปลี่ยนไปใช้ระบบประสานพิกัด เพื่อให้ขนาดชิ้นส่วนผนังและพื้นเป็นระบบมากขึ้น ลดรูปแบบ และขนาดช่องเปิด และเพิ่มระยะริมช่องเปิด จากเดิมทาวน์เฮาส์หนึ่งคูหาจะประกอบด้วยชิ้นส่วนผนัง 29 ชิ้น 29 รูปแบบ ด้วยวิธีดังกล่าว จะเหลือเพียง 20 ชิ้น 11 รูปแบบเท่านั้น ส่วนปัญหารั่วซึมบริเวณรอยต่อ แก้โดยการยื่นแผ่นผนัง และ พื้น รวมทั้งเสนอให้ปิดรอยต่อด้วยชิ้นส่วนบัวสำเร็จรูป ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความหลากหลายของรูปแบบด้านหน้า เสนอให้ใช้วิธีปรับเปลี่ยนเฉพาะส่วนหน้าของทาวน์เฮาส์ ส่วนภายในให้คงรูปแบบและจำนวนชิ้นส่วนคอนกรีตสำเร็จรูปเหมือนกัน


การออกแบบบ้านสมัยใหม่ โดยประยุกต์ภูมิปัญญาในการระบายอากาศของเรือนไทย, ธันญวีร์ มีสรรพวงศ์ Jan 2018

การออกแบบบ้านสมัยใหม่ โดยประยุกต์ภูมิปัญญาในการระบายอากาศของเรือนไทย, ธันญวีร์ มีสรรพวงศ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

จากปัญหาเกี่ยวกับสภาวะน่าสบายและคุณภาพอากาศภายในอาคาร การทำให้อาคารมีประสิทธิภาพในการระบายอากาศดีขึ้นเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาแนวทางหนึ่ง บ้านเรือนไทยถือเป็นบ้านต้นแบบในการระบายอากาศที่ดีและเหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศร้อนชื้นของไทยมากที่สุด การศึกษาองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของบ้านเรือนไทยและนำมาประยุกต์กับบ้านสมัยใหม่จึงน่าจะเป็นแนวทางที่ดีในการเพิ่มประสิทธิภาพในการระบายอากาศได้ งานวิจัยฉบับนี้เป็นงานวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภูมิปัญญาและองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของบ้านเรือนไทยที่ส่งเสริมการระบายอากาศและนำมาประยุกต์เข้ากับบ้านสมัยใหม่ ทำการทดลองด้วยโปรแกรมคำนวณพลศาสตร์ของไหล(CFD) มุ่งเน้นศึกษาการระบายอากาศแบบพัดผ่านตลอดโดยศึกษาจากความเร็วลมและรูปแบบการไหลของลม กำหนดให้ตัวแปรต้นคือปัจจัยในการศึกษามี 4 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยผังอาคาร ปัจจัยช่องเปิด ปัจจัยหลังคาและฝ้าเพดาน และปัจจัยผนังอาคาร ตัวแปรตามคือความเร็วลมและรูปแบบการไหลของลม ตัวแปรควบคุมคือพื้นที่อาคาร ประเภทอาคาร ความเร็วลมตั้งต้น และทิศทางอาคาร ขั้นตอนในการศึกษา 4 ขั้นตอนคือ 1) ศึกษาเปรียบเทียบประชากรและกลุ่มตัวอย่างของบ้านเรือนไทยและบ้านสมัยใหม่ 2) ศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการระบายอากาศของบ้านเรือนไทยและบ้านสมัยใหม่ต้นแบบ 3) ศึกษาเปรียบเทียบในแต่ละปัจจัยในการศึกษา 4) นำตัวแปรที่เพิ่มประสิทธิภาพการไหลของลมมาประยุกต์กับบ้านสมัยใหม่และเปรียบเทียบผล ก่อน-หลัง การประยุกต์ ผลการวิจัยพบว่า บ้านเรือนไทยมีความเร็วลมเฉลี่ยในทุกทิศทางที่ศึกษามากกว่าบ้านสมัยใหม่ร้อยละ 33.9 ทิศทางลมที่มีประสิทธิภาพในการระบายอากาศดีที่สุดคือทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตัวแปรที่ช่วยส่งเสริมการระบายอากาศคือความลึกของตัวอาคาร การกระจายของช่องเปิด พื้นที่ช่องเปิด อัตราส่วนระหว่างพื้นที่ช่องลมเข้ากับพื้นที่ลมออก ฝ้าเพดาน ระยะยื่นชายคา และความซับซ้อนของผนังอาคาร จากการประยุกต์ตัวแปรเข้ากับบ้านสมัยใหม่พบว่าบ้านสมัยใหม่มีประสิทธิภาพในการระบายอากาศเพิ่มขึ้นจากเดิม โดยมีความเร็วลมในทุกทิศทางเพิ่มขึ้นร้อยละ 51.4


สภาพที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุในย่านชุมชนเก่า : กรณีศึกษา 2 ชุมชน แพร่งภูธรและ แพร่งนรา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, วิลาสินี ลักษมีวัฒนา Jan 2018

สภาพที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุในย่านชุมชนเก่า : กรณีศึกษา 2 ชุมชน แพร่งภูธรและ แพร่งนรา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร, วิลาสินี ลักษมีวัฒนา

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

เขตพระนครที่แนวโน้มมีผู้สูงอายุอยู่มาก ส่วนหนึ่งอยู่อาศัยในอาคารเก่าที่ขึ้นทะเบียนควรค่าแก่การอนุรักษ์ ที่มีข้อจำกัดเรื่องขนาดตัวอาคารแคบบันไดที่สูงชันมีสภาพไม่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ การศึกษางานวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพสังคม เศรษฐกิจ พฤติกรรมและการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุในย่านชุมชนเก่า วิเคราะห์และเสนอแนะแนวทางปรับปรุงพื้นที่อยู่อาศัยให้เหมาะสมกับผู้สูงอายุโดยใช้วิธีการศึกษาโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มตัวอย่าง 22 คนในขอบเขตพื้นที่ชุมชนแพร่งภูธรและแพร่งนรา ผลการศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่อยู่อาศัยกับครอบครัวเดิมหรือคนคุ้นเคย รายได้หลักมาจากลูกหลานเป็นส่วนใหญ่ ยังมีผู้สูงอายุจำนวนหนึ่งที่ยังคงประกอบอาชีพอยู่ ด้านสุขภาพผู้สูงอายุเป็นโรคความดันโลหิตสูงมากที่สุด ผู้สูงอายุวัยปลายมีการใช้กายอุปกรณ์ในการช่วยเดินอย่างเห็นได้ชัด และบางคนมีภาวะพึ่งพิง ปัญหาที่พบคือผู้สูงอายุยังอาศัยนอนอยู่ที่ชั้น 2 และใช้ห้องน้ำที่ชั้น 1 บันไดที่เป็นทางสัญจรระหว่างชั้น 1 และ 2 เป็นพื้นที่เสี่ยงหกล้ม ผิวบันไดลื่นและขั้นบันไดสูงชันและเป็นพื้นที่ที่ผู้สูงอายุเกิดอุบัติเหตุมากที่สุด นอกจากนี้จากการสำรวจที่อยู่อาศัย ยังพบว่าห้องน้ำเป็นพื้นที่ที่มีความไม่เหมาะสมกับมาตรฐานการออกแบบให้ถูกหลักที่อยู่อาศัยเพื่อผู้สูงอายุมากที่สุด โดยมีปัญหามากที่สุดในเรื่องขนาดไม่สอดคล้องกับการออกแบบเพื่อผู้สูงอายุ สรุปผล เสนอแนะแนวทางจัดพื้นที่ย้ายส่วนนอนลงมาชั้น 1 ใกล้กับห้องน้ำมากที่สุด ให้ใช้เฟอร์นิเจอร์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกที่รูปแบบยืดหยุ่นเคลื่อนย้ายได้เหมาะกับการใช้และปรับเปลี่ยนในการทำกิจกรรมหลายอย่างในพื้นที่จำกัด รวมถึงไม่ยึดติดอาคารเพื่อไม่ให้ทำความเสียหายแก่ส่วนอนุรักษ์ ส่วนบันไดและห้องน้ำที่พบว่ามีการเกิดอุบัติเหตุ มีข้อจำกัดในการปรับให้เหมาะสมตามมาตรฐานผู้สูงอายุเรื่องขนาดภายในห้องน้ำและการปรับขั้นบันได เนื่องจากพบข้อจำกัดขนาดพื้นที่ภายในอาคาร จึงเสนอแนะให้เพิ่มเติมสิ่งอำนวยความสะดวกและปรับปรุงซ่อมแซมส่วนที่ทรุดโทรมเพื่อให้ปลอดภัยขึ้น


การศึกษาคติเรือนพื้นถิ่นไทยพุทธ กรณีศึกษา ต.พร่อน อ.ตากใบ จ.นราธิวาส, ณัฐพร เทพพรหม Jan 2018

การศึกษาคติเรือนพื้นถิ่นไทยพุทธ กรณีศึกษา ต.พร่อน อ.ตากใบ จ.นราธิวาส, ณัฐพร เทพพรหม

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาทำความเข้าใจหลักคิดของคติในวิถีเรือนพื้นถิ่นไทยพุทธ ต.พร่อน อ.ตากใบ จ.นราธิวาส เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่สอดคล้องกันระหว่างคติพุทธ รูปแบบและกระบวนการก่อสร้างเรือนพื้นถิ่น ผู้วิจัยทำการศึกษาโดยใช้วิธีเก็บข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปผล โดยศึกษาทั้งภาคเอกสาร และสำรวจภาคสนามเพื่อให้ได้ข้อมูลอันครบถ้วน ได้แก่ หลักธรรม สภาพแวดล้อม ประวัติศาสตร์การตั้งถิ่นฐาน วิถีเรือน และวิถีถิ่น ซี่งแสดงออกในรูปแบบของวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณี พิธีกรรม ตามคติความเชื่อของท้องถิ่น จากการศึกษาพบว่า วัดเป็นศูนย์รวมจิตใจของชุมชน โดยมีพระรัตนตรัยเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวสูงสุด วิถีถิ่นสอดคล้องกับคติพุทธที่ชุมชนศรัทธา อันมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาชีวิตไปสู่นิโรธ ด้วยการศึกษาด้าน ศีล สมาธิ และปัญญา ประกอบด้วยวิถีปฏิบัติ 8 ข้อ เรียกว่า "อริยมรรค" วิถีชีวิตของชาวพร่อนจึงเปี่ยมไปด้วยการเจริญสติ รู้กาลเทสะ มีความอ่อนน้อมถ่อมตน กตัญญูกตเวที สันโดษ และปฏิบัติต่อสรรพสิ่งด้วยความเกื้อกูล พุทธวิถีดังกล่าวได้ส่งผลไปสู่รูปแบบ และกระบวนการสร้างเรือนพื้นถิ่น ที่เอื้อให้ร่างกายและจิตใจมีความสงบ อันเป็นพื้นฐานสำคัญในการศึกษาพัฒนาชีวิตในวิถีพุทธ เรียกว่า "มณฑลศักดิ์สิทธิ์" โดยมีหลักเกณฑ์สำคัญ 3 ข้อ ได้แก่ การนำนิมิตรหมายมาใช้เป็นหลักยึดเหนี่ยวจิตใจ, การสร้างมณฑลศักดิ์สิทธิ์เพื่อให้เกิดสมาธิ, และการสร้างพื้นที่สัปปายะเพื่อให้เกิดความสงบทั้งร่างกายและจิตใจ นอกจากนี้จักรวาลชีวิตชาวพร่อน ยังสอดคล้องกับคติพุทธ ด้วยมณฑลที่มีองค์ประกอบสมบูรณ์ 5 ประการ ได้แก่ สิ่งยึดเหนี่ยวทางใจ, ที่อยู่อาศัย, แหล่งน้ำ, ที่ทำกิน, และป่า ทั้งในมิติของเรือนและชุมชน กล่าวได้ว่าชาวพร่อนเข้าใจหลักคิดของการดำเนินชีวิตด้วยปัญญาญาณ โดยรู้เท่าทันสภาวะและประสานกลมกลืนกับความจริงของธรรมชาติ มีความเบิกบาน และเป็นอิสระจากความทุกข์


การวางผังอาคารและลักษณะพื้นที่ว่างระหว่างอาคารในโครงการอาคารชุดพักอาศัยแนวราบในเขต กรุงเทพมหานคร, ปริยากร พิมานแมน Jan 2018

การวางผังอาคารและลักษณะพื้นที่ว่างระหว่างอาคารในโครงการอาคารชุดพักอาศัยแนวราบในเขต กรุงเทพมหานคร, ปริยากร พิมานแมน

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวางผังอาคารนับเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญที่ทำให้สภาพแวดล้อมพื้นที่ว่างระหว่างอาคารที่ถูกสร้างขึ้นนั้นมีความแตกต่างกันออกไป ซึ่งการวางผังที่ดีนี้จะส่งผลให้ 1) เกิดพื้นที่ภายในน่าอยู่ด้วยการวางตัวอาคารโอบล้อมพื้นทีส่วนกลาง เพิ่มความสงบให้กับพื้นที่ภายในโครงการ 2) นำไปสู่การจัดสรรพื้นที่ Facility ของโครงการ จากการสำรวจเบื้องต้นพบว่า พื้นที่ดังกล่าวจะถูกออกแบบเป็นฟังก์ชันการใช้งานที่หลากหลาย และมักถูกพบเป็นพื้นที่นันทนาการของโครงการ ซึ่งทำให้เกิดการใช้งานของผู้อยู่อาศัย 3)สามารถบรรลุ ตอบโจทย์การลงทุน เนื่องการวางผังอาคารจะขึ้นอยู่กับข้อกำหนดและกฎหมายต่างๆ ซึ่งความแตกต่างของการวางผังและสร้างสรรค์พื้นที่ว่างในโครงการนี้ ไม่เพียงแต่เป็นจุดขายของโครงการเท่านั้นแต่พื้นที่ดังกล่าวยังช่วยส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่ดีให้กับโครงการ สามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคได้อีกด้วย งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและจำแนกประเภทการวางผังโครงการ และพื้นที่ว่างระหว่างอาคารที่เกิดจากการวางผังในโครงการอาคารชุดพักอาศัยแนวราบ ในเขตกรุงเทพมหานครจากบริษัทอสังหาริมทรัพย์ที่มีผลประกอบการสูงสุดในปี พ.ศ. 2560 จำนวน 10 บริษัท โดยรวบรวมข้อมูลจากเว็บไซต์และหน่วยงานต่างๆ เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการวางผังและพื้นที่ว่างระหว่างอาคารที่เกิดจากการวางผัง จากรูปแบบผังอาคารที่ต่างกัน ผลการศึกษาพบว่าการวางผังโครงการอาคารชุดพักอาศัยแนวราบที่พบมี 3 รูปแบบหลักและ 1 รูปแบบผสม คือรูปแบบ A วางอาคารแบบสวนกลาง เกิดพื้นที่ว่างที่มีการปิดล้อม 3 ด้านขึ้นไป รูปแบบ B วางอาคารตามแนวถนน 2 ฝั่ง เกิดพื้นที่ว่าง มีด้านปิดล้อม 2 ด้าน รูปแบบ C วางอาคารตามแนวถนน เกิดพื้นที่ว่างเฉพาะด้านสกัดของอาคาร ไม่เกิดการปิดล้อม รูปแบบ D วางอาคารแบบผสม 2 รูปแบบขึ้นไป หรือตามรูปร่างที่ดิน 1) จากโครงการกลุ่มตัวอย่างพบ ผังรูปแบบ A มากที่สุด รองลงมาคือรูปแบบ D C และ B ตามลำดับ โดยผังรูปแบบ C และ D จะพบในโครงการที่มีขนาดใหญ่กว่ารูปแบบ A และ B 2) ผังรูปแบบ A เป็นรูปแบบผังที่มีระดับราคาขายสูงที่สุดใน 4 รูปแบบ และผังในรูปแบบ C เป็นรูปแบบผังที่มีระดับราคาขายต่ำที่สุด 3) ผังรูปแบบ A และ B มีลักษณะและพื้นที่ว่างระหว่างอาคารที่เกิดจากการวางอาคารใกล้เคียงกัน แต่ผังรูปแบบ A ถูกออกแบบพื้นที่ให้เป็นพื้นที่ใช้งานประเภทนันทนาการเพื่อทำกิจกรรมทางเลือกมากกว่า ผังรูปแบบ B …


ความสัมพันธ์ระหว่างราคาค่าเช่ากับลักษณะของอะพาร์ตเมนต์ในเขตกรุงเทพมหานคร, ชนากานต์ สุรมิตร Jan 2018

ความสัมพันธ์ระหว่างราคาค่าเช่ากับลักษณะของอะพาร์ตเมนต์ในเขตกรุงเทพมหานคร, ชนากานต์ สุรมิตร

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การเพิ่มขึ้นของจำนวนที่อยู่อาศัยประเภทเช่าตามความต้องการของผู้อยู่อาศัย ส่งผลให้อะพาร์ตเมนต์ในกรุงเทพมหานครมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น ซึ่งมีความหลากหลายของทำเลที่ตั้ง ลักษณะอาคาร รวมถึงระดับราคา งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพ ทำเลที่ตั้ง และราคาค่าเช่าของอะพาร์ตเมนต์ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยรวบรวมข้อมูลจากเว็บไซต์ในช่วงเดือนมีนาคม-มิถุนายน 2561 พบอะพาร์ตเมนต์ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 471 แห่ง นอกจากนี้ยังสำรวจอะพาร์ตเมนต์จำนวน 12 แห่ง เพื่อศึกษาสภาพอาคารและที่ตั้งวิเคราะห์ผลโดยวิธีสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน ผลการศึกษาพบว่า 1) อะพาร์ตเมนต์ในเขตกรุงเทพมหานครส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเขตชั้นในและชั้นกลางของเมือง คิดเป็นร้อยละ 40 และ 47 ตามลำดับ ส่วนในเขตชั้นนอกมีร้อยละ 13 ทั้งนี้พบว่าอะพาร์ตเมนต์ที่อยู่ในเขตเมืองชั้นในและชั้นกลางมักอยู่ใกล้แหล่งงาน ขณะที่อะพาร์ตเมนต์ในเขตเมืองชั้นนอกมักตั้งใกล้แหล่งจับจ่ายใช้สอย 2) อะพาร์ตเมนต์ส่วนใหญ่เปิดให้บริการมา 1-5 ปี ห้องพักส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก 12-27 ตารางเมตร โดยห้องขนาดใหญ่มักพบในเขตเมืองชั้นใน สำหรับสิ่งอำนวยความสะดวกภายในห้องพักที่พบมากที่สุด คือ เฟอร์นิเจอร์ เครื่องปรับอากาศ อินเตอร์เน็ตไร้สาย เคเบิลทีวี และเครื่องทำน้ำอุ่น 3) ราคาค่าเช่าเฉลี่ยของอะพาร์ตเมนต์ส่วนใหญ่อยู่ในระดับราคาปานกลาง (4,351-7,050 บาทต่อเดือน) โดยราคาค่าเช่าเฉลี่ยสูงสุดอยู่ในเขตเมืองชั้นใน ทั้งนี้พบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อราคาค่าเช่าอะพาร์ตเมนต์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ มี 6 ปัจจัย เรียงตามลำดับ ได้แก่ ขนาดหน่วยพัก สถานที่ขนส่งสาธารณะ จำนวนปีที่เปิดให้บริการ เขตที่ตั้ง สิ่งอำนวยความสะดวก และสถานศึกษาผลการศึกษาชี้ให้เห็นถึงลักษณะ (Characteristics) ของอะพาร์ตเมนต์ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยแบบเช่าซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเขตชั้นในและเขตชั้นกลางของกรุงเทพมหานคร โดยปัจจัยที่ส่งผลต่อราคาค่าเช่าอย่างมีนัยสำคัญคือทำเลที่ตั้ง ลักษณะของอพาร์ตเมนต์ และสิ่งอำนวยความสะดวก งานวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบการในการพัฒนาโครงการให้สอดคล้องกับระดับราคาซึ่งสะท้อนความสามารถในการจ่ายของผู้อยู่อาศัย นอกจากนี้ผลการศึกษายังสะท้อนให้เห็นลักษณะตลาดอสังหาริมทรัพย์ประเภทเช่าเพื่อนำไปสู่การวางแผนเรื่องที่อยู่อาศัยประเภทเช่าในเขตกรุงเทพมหานครต่อไป


การพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อคนทั้งมวล กรณีศึกษา โรงละครสยามนิรมิตและพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย Moca, ชุติกาญจน์ แจ้งเสนาะ Jan 2018

การพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อคนทั้งมวล กรณีศึกษา โรงละครสยามนิรมิตและพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย Moca, ชุติกาญจน์ แจ้งเสนาะ

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ร่วมกับมูลนิธิอารยสถาปัตย์เพื่อคนทั้งมวล ได้มีการขับเคลื่อน โครงการการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล ในประเทศไทย เพื่อพัฒนาให้เกิดแหล่งท่องเที่ยวที่สามารถเข้าถึงได้อย่างเท่าเทียม (Universal Accessibility) โดยพัฒนาการออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อทุกคน ( Universal Design ) รวมไปถึงการพัฒนาอย่างยั่งยืนในเชิงวัฒนธรรม สอดคล้องกับวิสัยทัศน์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2579 ในแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติฉบับที่ 2 ภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ 20 ปี และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สามารถเข้าถึงได้อย่างเท่าเทียม โดย UNWTO ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงเลือกศึกษาการพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อคนทั้งมวล กรณีศึกษา พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย MOCA และ โรงละครสยามนิรมิต ซึ่งเป็นสถานที่ที่ได้รับรางวัลอารยสถาปัตย์เพื่อคนทั้งมวลในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2559 – 2560 จากมูลนิธิอารยสถาปัตย์เพื่อคนทั้งมวล เพื่อหาแนวทางการปรับปรุง พัฒนา การเข้าถึงและสิ่งอำนวยความสะดวกภายในอาคาร การจัดการเข้าถึงการแสดงนิทรรศการและการเรียนรู้ศิลปะ วัฒนธรรม การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางกายภาพของสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับคนทั้งมวล และได้มีวัตถุประสงค์ ศึกษาการเข้าถึงเนื้อหา ภายในพิพิธภัณฑ์และโรงละคร โดยใช้หลักการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design) เพื่อสำรวจและหาแนวทาง การปรับปรุงการเข้าถึงและการใช้งานสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อทุกคนอย่างเหมาะสม จากการศึกษานี้ ได้ใช้วิธีการ สำรวจแบบมีโครงสร้าง สังเกต และการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญเชิงลึก เป็นกรณีศึกษา มีแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง มุ่งเน้นประเด็นปัญหาและอุปสรรคการใช้งานสิ่งอำนวยความสะดวก และการเข้าถึงเนื้อหาโดยการจัดเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก และการช่วยเหลืออย่างสมเหตุสมผล ภายในพิพิธภัณฑ์ และโรงละคร เพื่อหาแนวทางการปรับปรุง และการออกแบบพื้นที่และสิ่งอำนวยความสะดวก ที่สอดคล้องกับกฏกระทรวงฯและการใช้งาน ผลการศึกษา พบว่าปัญหา ส่วนใหญ่ เป็นอุปสรรคสำหรับคนพิการทางสายตา ซึ่งจากกรณีศึกษาพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย MOCA มีการจัดให้ความช่วยเหลือแบบสมเหตุสมผล และสำหรับโรงละครสยามนิรมิตพบว่าคนพิการทางสายตา ไม่สามารถเข้าถึงลักษณะการแสดงและเนื้อหาได้ทั้งหมด ยังไม่มีการรองรับการจัดเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับคนพิการทางสายตา จากการรวบรวมข้อมูลสามารถสรุปข้อค้นพบการพัฒนาการเข้าถึงเนื้อหาโดย (1) ติดตั้งจอมัลติมีเดีย ที่มีความหลากหลายของการจัดเทคโนโลยีเพื่อตอบสนองต่อประสาทสัมผัสหลักที่มีประสิทธิภาพของคนทุกคน และ (2) การจัดพื้นที่ งานศิลปะจำลอง เพื่อสร้างกระบวนการ การเข้าถึงผ่านการสัมผัสและสร้างจินตนาการ และข้อเสนอแนะให้มีการพัฒนาเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก ผ่านแอฟพลิเคชั่นของกรณีศึกษา เพื่อให้นักท่องเที่ยวและสถานที่เข้าถึงกันมายิ่งขึ้น ในการเตรียมด้านรายละเอียดเนื้อหารองรับทุกคนและการจัดทำแผนผังสัมผัสเพื่อให้ผู้พิการทางสายตาสามารถเข้าถึงเส้นทางสัญจรภายในสถานที่ผ่านประสบการณ์การท่องเที่ยว