Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Translation Studies Commons

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

2020

Discipline
Institution
Keyword
Publication
Publication Type

Articles 1 - 26 of 26

Full-Text Articles in Translation Studies

What Are You, Really?/Afar, Gazing At The Holy Mountain By Du Fu, Michael Zhai Dec 2020

What Are You, Really?/Afar, Gazing At The Holy Mountain By Du Fu, Michael Zhai

Transference

A translation and commentary of Du Fu's poem "Afar, Gazing on the Holy Mountain," with a worksheet for readers to produce their own translations of the poem.


China Question Of Us-American Imagism, Qingben Li Dec 2020

China Question Of Us-American Imagism, Qingben Li

CLCWeb: Comparative Literature and Culture

This paper investigates first the influences of ancient Chinese culture on Ezra Pound, and then Pound’s influence on the New Culture Movement of modern China (1917). It is a kind of circular journey of literary texts and theories from ancient China to the West and then back to China. This journey, or “circle model,” involves textual appropriation, variation, transformation and misunderstanding in every stage.


The Chuanyue (Traversing) Of Western Cultural Industry Theories In China, Hui Li, Naihai Zhai Dec 2020

The Chuanyue (Traversing) Of Western Cultural Industry Theories In China, Hui Li, Naihai Zhai

CLCWeb: Comparative Literature and Culture

This paper discusses the reception and transformation of western theories of Culture Industry in China during the Reform Era (1978-present). It proposes the term 穿越 (chuanyue, traverse), rather than communication or traveling theory, in order to probe into the complexity of the interaction, modification and transformation of western theories of Culture Industry and creative industries in China. The paper focuses on 1) issues of time lag or disjunction, in that it took more than half a century for the critique of Culture Industry to enter China; 2) divergent interpretations of Culture Industry with a strong critical edge of …


China Question Of Western Postcolonial Translation Theory, Zhijie Wu, Yuping Wang Dec 2020

China Question Of Western Postcolonial Translation Theory, Zhijie Wu, Yuping Wang

CLCWeb: Comparative Literature and Culture

“China Question of Western Postcolonial Translation Theory” deals with how western postcolonial translation theory is read, interpreted and applied in China, as well as how the reception in China influences revision and development of the theory. Western postcolonial translation theory, though frequently quoted and highly influential in China, is sometimes incapable of effectively explaining Chinese translation practice and convincing Chinese readers. Based on the analysis of the encounter between postcolonial translation theory and China, three suggestions are proposed to revise translation theory so as to build a “greener,” healthier hetero-generative ecology of languages and cultures.


ترجمة الأدب العربي في الصين في السياق التاريخي والثقافي في العصر الحديث والمعاصر, Ma Tao Oct 2020

ترجمة الأدب العربي في الصين في السياق التاريخي والثقافي في العصر الحديث والمعاصر, Ma Tao

Al Jinan الجنان

قد شهدت قضية ترجمة الأدب العربي في الصين تطورًا مندجمًا في تغيرات اجتماعية في العصر االحديث والمعاصر، خصوصًا منذ حركة الأدب االحديث التي نشأت في بداية القرن العشرين. وكذلك شهدت تحول دوافع المترجمين لترجمة الأدب العربي، من الخدمة لتنوير الشعب وإنقاذ الوطن، إدخال وضع للإيديولوجية والتخطيط السياسي، ثم السعي إلى الجمالية الفنية والتبادل الثقافي. ولم يؤثر الأدب المترجم من اللغة العربية في بيئة الأدب الصيني فحسب، بل قد راح يؤدي وظائف إيديولوجية وشعرية لم يكن يتحلى بها الأدب الإبداعي الصيني في حقبة معينة؛ فهو قد شارك، ّ إلى حد ما، في بناء الثقافة الصينية الأساسية في العصر الحديث والمعاصر.


A Parrot Perched On A Rifle: Military Interpreters In The Korean Conflict 1945-1953, Hyongrae Kim Sep 2020

A Parrot Perched On A Rifle: Military Interpreters In The Korean Conflict 1945-1953, Hyongrae Kim

Doctoral Dissertations

This dissertation presents an overview of interpreting during the Korean War by examining shifts in the positionality of interpreters during the preparatory, engagement, and conclusionary stages of the conflict. Here, the preparatory stage refers to the U.S. military occupation of south Korea (1945-1948), the engagement stage refers to period of active military engagement between the Democratic People’s Republic of Korea and its allies against the Republic of Korea and the United Nations Command (1950-1953), while the conclusionary stage refers to the Korean Armistice Negotiations (1951-1953). Drawing on Pierre Bourdieu’s field theory and Moira Inghilleri’s (2005a) influential argument that interpreting takes …


Translating Anxiety In The Poetry Of Maya Abu Al-Hayyat, Julianne Zala Sep 2020

Translating Anxiety In The Poetry Of Maya Abu Al-Hayyat, Julianne Zala

Masters Theses

Maya Abu al-Hayyat (born 1980) is a Palestinian poet who thematizes motherhood, love, war/revolution, grief, and political hypocrisy in her poetry. In the context of Palestinian literature, she fits within a tradition of Resistance Literature, yet redefines it. Given that al-Hayyat has not been widely translated into English, this thesis presents 33 translations of her poems taken from her three poetry collections: Mā qālathu fīhī (Thus Spake the Beloved, 2007), Tilka al-ibtisāma-- dhālika al-qalb (This Smile, That Heart, 2012), and Fasātīn baytīyya wa ḥurūb (House Dresses and Wars, 2016). Throughout these three collections the …


Self, Emily Aguayo May 2020

Self, Emily Aguayo

Graduate Theses and Dissertations

This is a translation of Dr. Erika Almenara’s complete published collection of poetry. The original publications span a period of over twelve years of work, with books published in 2006, 2008, and 2018. The first book of poetry in this series of translations, Reino Cerrado (Closed Kingdom), explores the profound contemplations of life and how to turn those thoughts into words and put them on paper. We see images of nature, hear faint religious overtones, and feel the distress of a woman searching for a healthy relationship, and having little luck. Para evitar los rastros (To Avoid All Traces), the …


The Translator-Function: Translating Bande-Dessinée For The Anglophone Reader, Ryan C. Gomez Apr 2020

The Translator-Function: Translating Bande-Dessinée For The Anglophone Reader, Ryan C. Gomez

Foreign Languages & Literatures ETDs

This thesis focuses on the question of translator roles in literary theory. I characterize these roles between positions that have traditionally been described by literary and philosophical theorists such as Roland Barthes and Michel Foucault. By examining the products of translation (French-language bandes-dessinées and their English translations), and considering critical literary and translation theories, I demonstrate the unique position held by translators and their work through the proposal of what I call the translator-function (modeled after Foucault’s author-function). The principal aim of this thesis is to problematize preconceived ideas about translators and to examine the unique position of the …


Scrivere Di Islam. Raccontare La Diaspora, Simone Brioni Dr., Shirin Ramzanali Fazel Apr 2020

Scrivere Di Islam. Raccontare La Diaspora, Simone Brioni Dr., Shirin Ramzanali Fazel

Department of English Faculty Publications

Scrivere di Islam. Raccontare la diaspora (Writing About Islam. Narrating a Diaspora) is a meditation on our multireligious, multicultural, and multilingual reality. It is the result of a personal and collaborative exploration of the necessity to rethink national culture and identity in a more diverse, inclusive, and anti-racist way. The central part of this volume – both symbolically and physically – includes Shirin Ramzanali Fazel’s reflections on the discrimination of Muslims, and especially Muslim women, in Italy and the UK. Looking at school textbooks, newspapers, TV programs, and sharing her own personal experience, this section invites us to change the …


Japanese-English Translation: Kitaōji Rosanjin—Character (1953), Christopher Southward Apr 2020

Japanese-English Translation: Kitaōji Rosanjin—Character (1953), Christopher Southward

Comparative Literature Faculty Scholarship

日英翻訳書:「個性」、北大路魯山人著、サウスワード・クリストファー(南方)訳


The Haunting Parallel Amid Governmental Responses: Tlatelolco Massacre & The Covid-19 Pandemic, Chelsea Wepy Apr 2020

The Haunting Parallel Amid Governmental Responses: Tlatelolco Massacre & The Covid-19 Pandemic, Chelsea Wepy

Publications and Research

The overall purpose of this analysis was to exemplify the parallels between the governmental responses to the Tlatelolco Massacre of 1968 and the COVID-19 Pandemic of 2020. “Memorial de Tlatelolco” is a poem that was written by Mexican poet and activist, Rosario Castellanos in 1968 following the Tlatelolco Massacre. The findings of this research note the familiarity instilled in those suffering through the COVID-19 Pandemic by Castellanos' poem.


Interpreting As Ideologically-Structured Action: Collective Identity Between Activist Interpreters And Protesters, Mark A. Halley Phd, Nic Feb 2020

Interpreting As Ideologically-Structured Action: Collective Identity Between Activist Interpreters And Protesters, Mark A. Halley Phd, Nic

Showcase of Faculty Scholarly & Creative Activity

In this paper, I explore the work of the American Sign Language-English interpreters who volunteered in the 1988 Deaf President Now protest (DPN). Drawing from the construct of ideologically-structured action (Dalton 1994; Zald 2000), I frame the interpreters’ decisionmaking throughout the protest, showing how their beliefs about and relationships with deaf people shaped their actions. Further, I argue that the activist interpreters exhibited a collective identity (Polletta and Jasper 2001) with the deaf protesters, despite not being deaf themselves. I also discuss the integral role of interpreters to the protesters’ mission of challenging the existing power structure. To develop my …


Nimble Tongues: Studies In Literary Translingualism, Steven G. Kellman Feb 2020

Nimble Tongues: Studies In Literary Translingualism, Steven G. Kellman

Comparative Cultural Studies

Nimble Tongues is a collection of essays that continues Steven G. Kellman's work in the fertile field of translingualism, focusing on the phenomenon of switching languages. A series of investigations and reflections rather than a single thesis, the collection is perhaps more akin in its aims—if not accomplishment—to George Steiner’s Extraterritorial: Papers on Literature and the Language Revolution or Umberto Eco’s Travels in Hyperreality.

Topics covered include the significance of translingualism; translation and its challenges; immigrant memoirs; the autobiographies that Ariel Dorfman wrote in English and Spanish, respectively; the only feature film ever made in Esperanto; Francesca Marciano, an …


Contra Instrumentalism: A Translation Polemic. By Lawrence Venuti. Lincoln: University Of Nebraska Press, 2019. 211 Pages. Isbn 9781496205131, Xiaoqing Liu Jan 2020

Contra Instrumentalism: A Translation Polemic. By Lawrence Venuti. Lincoln: University Of Nebraska Press, 2019. 211 Pages. Isbn 9781496205131, Xiaoqing Liu

Scholarship and Professional Work - LAS

No abstract provided.


Rendering 20th Century Peruvian Folklore For A 21st Century Reader: Es>En Translation And Analysis Of Peruvian Folktales And Mythology, Angela Walsh Jan 2020

Rendering 20th Century Peruvian Folklore For A 21st Century Reader: Es>En Translation And Analysis Of Peruvian Folktales And Mythology, Angela Walsh

All Graduate Theses, Dissertations, and Other Capstone Projects

In the 1940s José María Arguedas and Francisco Izquierdo Ríos collected oral tradition stories from three separate geographical areas of Peru. The publication of these legends, myths and Peruvian tales (Mitos, leyendas y cuentos peruanos 1947) and its function as an historical record of cultural and national identity led Arguedas to national acclaim. However, these mythological and folk tales, legends and myths have had little attention outside of Peru and few tales have been translated into English. The thesis begins with an introduction to the challenges of translating folklore and cultural artifacts, the nature and function of tales likes these …


Adam And The Early Mesopotamian Creation Mythology, Saad D. Abulhab Jan 2020

Adam And The Early Mesopotamian Creation Mythology, Saad D. Abulhab

Publications and Research

The first monotheist human, Adam, was likely a god, in the Mesopotamian mythology, just as the Hebrew Genesis reluctantly revealed, and the assertive Quran slightly hinted. Specifically, he was the pre-monotheist, Sumerian god, Idim, who was also called GodEa and many other nicknames over the millenniums. The names Idim and Adam are even linguistically related, according to early Arabic root words analysis. As a Mesopotamian god, Idim was the creator of the first human, and the father of his immediate generations, as he was sometimes referred to in the ancient literature. He was the preserver of life on earth, and …


A Story To Tell… How To Integrate The Three Modes Of Communication Through A Story Time Program In French, Frederique Grim Jan 2020

A Story To Tell… How To Integrate The Three Modes Of Communication Through A Story Time Program In French, Frederique Grim

The Coastal Review: An Online Peer-reviewed Journal

Bilingual story time programs found in local community libraries not only benefit children, they can also serve a need for L2 college students: the development of their communicative skills in an authentic environment. In addition to linguistic benefits, experiential learning has proven to prepare students for real-world skills, such as networking, mock professional experience and a sense of community engagement. This paper recounts how a world language story time program supports L2 learners’ three modes of communication, as articulated by ACTFL, and necessary for language development. Based on students’ perceptions, this study highlights their increase in motivation and confidence in …


การศึกษาขนบในการแปลชื่อภาพยนตร์บันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์ (Science Fiction Movies), ณพัฐธิกา จุลเด็น Jan 2020

การศึกษาขนบในการแปลชื่อภาพยนตร์บันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์ (Science Fiction Movies), ณพัฐธิกา จุลเด็น

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

สารนิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาขนบในการแปลชื่อภาพยนตร์บันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์ (Science Fiction: Sci-fi) ระหว่างช่วงพ.ศ. 2541-2555 และช่วงพ.ศ. 2556-2563 เพื่อค้นหาว่าในยุคหลังการแปลชื่อภาพยนตร์บันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์มีขนบการแปลอย่างไร และสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวคืออะไร นอกจากนี้ผู้วิจัยยังต้องการศึกษาว่าประเภทย่อยของภาพยนตร์นั้นจะมีผลต่อขนบในการแปลภาพยนตร์หรือไม่ โดยผู้วิจัยได้คัดเลือกชื่อภาพยนตร์ไซไฟทั้งหมดจำนวน 229 รายชื่อ และได้จำแนกประเภทย่อยของภาพยนตร์ในทั้งสองช่วงเวลาออกเป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ ภาพยนตร์ไซไฟ-แอ็คชั่น ภาพยนตร์ไซไฟ-ระทึกขวัญ ภาพยนตร์ไซไฟ-ผจญภัย ภาพยนตร์ไซไฟ-ตลก และภาพยนตร์ไซไฟ-โรแมนติก จากการศึกษาผู้วิจัยพบว่า ในยุคหลังนั้น กลุ่มภาพยนตร์ที่มีแนวโน้มของขนบในการแปลโดยเคลื่อนเข้าหาวัฒนธรรมปลายทาง ได้แก่ กลุ่มภาพยนตร์ไซไฟ-ตลก โดยสะท้อนผ่านการใช้กลวิธีการแปลแบบตั้งชื่อใหม่ และกลุ่มภาพยนตร์ไซไฟ-โรแมนติก โดยสะท้อนผ่านการใช้กลวิธีการแปลความ ทั้งนี้การใช้กลวิธีการแปลความและการตั้งชื่อใหม่อาจทำให้ผู้ชมเข้าใจเนื้อหาสำคัญของภาพยนตร์และอาจทำให้ผู้ชมตัดสินใจรับชมภาพยนตร์ สำหรับกลุ่มภาพยนตร์ที่มีแนวโน้มของขนบในการแปลเเบบประนีประนอมระหว่างการเคลื่อนเข้าหาวัฒนธรรมต้นทางและปลายทาง ได้แก่ กลุ่มภาพยนตร์ไซไฟ-แอ็คชั่น กลุ่มภาพยนตร์ไซไฟ-ระทึกขวัญ และกลุ่มภาพยนตร์ไซไฟ-ผจญภัย โดยสะท้อนผ่านกลวิธีการแปลแบบทับศัพท์โดยการขยายความเพิ่มเติม ซึ่งการทับศัพท์เป็นการรักษาชื่อในภาษาต้นทาง และการขยายความเพิ่มเติมเป็นการสะท้อนเนื้อหาของภาพยนตร์เพื่อให้ผู้ชมเกิดความสนใจที่จะรับชมภาพยนตร์ดังกล่าว


โครงการวิจัยแนวทางการแปลถ้อยคำที่สะท้อนอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ในตัวบทโฆษณาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางบนเว็บไซต์จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย, อรสุรางค์ แสงสมสุรศักดิ์ Jan 2020

โครงการวิจัยแนวทางการแปลถ้อยคำที่สะท้อนอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ในตัวบทโฆษณาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางบนเว็บไซต์จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย, อรสุรางค์ แสงสมสุรศักดิ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

สารนิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ในตัวบทโฆษณาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง รวมถึงศึกษากลวิธีการถ่ายทอดอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์จากต้นฉบับไปยังฉบับแปล การวิจัยนี้รวบรวมข้อมูลผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางในกลุ่มผลิตภัณฑ์บำรุงผิวและเครื่องสำอางสำหรับตกแต่งทั้งหมด 240 ผลิตภัณฑ์จากเว็บไซต์ตราสินค้าที่มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผู้วิจัยศึกษาแนวคิดอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ตามแนวภาษาศาสตร์ปริชานของ Lakoff และ Johnson (2003) แนวทางการระบุรูปภาษาแสดงอุปลักษณ์จากกลุ่มนักวิชาการ Pragglejaz Group (2007) และการจัดประเภทกลุ่มคำศัพท์ตามวงความหมายจากงานวิจัยเกี่ยวกับอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ในตัวบทประเภทต่าง ๆ รวมถึงการศึกษาลักษณะภาษาโฆษณาและประเภทอุปลักษณ์ที่พบในโฆษณาเครื่องสำอางในภาษาอังกฤษและภาษาไทย และจากการศึกษาแนวทางการแปลอุปลักษณ์ตามแนวคิดแบบดั้งเดิมและตามแนวภาษาศาสตร์ปริชาน ผู้วิจัยได้เลือกใช้กรอบการวิเคราะห์กลวิธีการแปลที่ผสมผสานกันของ Deignan et al. (1997) Schäffner (2004) และ Toury (1995) ผลการวิจัยพบว่า ในตัวบทโฆษณาเครื่องสำอางภาษาอังกฤษที่คัดเลือกมามีอุปลักษณ์ทั้งหมด 29 ประเภท มีจำนวนรูปภาษาที่แสดงอุปลักษณ์ทั้งหมด 1,391 ตัวอย่าง ผู้วิจัยเลือกอุปลักษณ์ที่พบสูงสุดใน 10 อันดับแรก ได้แก่ อุปลักษณ์สงคราม แสง มนุษย์ สุขภาพ พืชและการเพาะปลูก สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม เครื่องจักร ศิลปะ อาหารและโภชนาการ และภาชนะ ซึ่งจำนวนรูปภาษาที่แสดงอุปลักษณ์ทั้งหมด 1,166 ตัวอย่าง นำมาวิเคราะห์อุปลักษณ์ที่พบในฉบับแปลและกลวิธีการแปล พบว่าภาษาไทยและภาษาอังกฤษมีอุปลักษณ์ทั้งหมดนี้เหมือนกัน ผลการวิเคราะห์กลวิธีการแปลเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ กล่าวคือ พบว่ากลวิธีการแปลที่พบมากที่สุดคือ 1) การแปลโดยรักษามโนทัศน์เดิม แต่รูปภาษาแสดงอุปลักษณ์ต่างจากต้นฉบับ ร้อยละ 51.41 ตามด้วย 2) การแปลโดยรักษามโนทัศน์เดิม และรูปภาษาแสดงอุปลักษณ์ตรงตามต้นฉบับ ร้อยละ 26.90 3) การแปลโดยไม่รักษามโนทัศน์ (ไม่มีรูปภาษาแสดงอุปลักษณ์) ร้อยละ 12.93 4) การแปลโดยใช้มโนทัศน์ที่แตกต่างกัน ร้อยละ 4.62 และ 5) การละไม่แปล ร้อยละ 4.11 นอกจากนี้ ยังพบว่ามีการเพิ่มมโนทัศน์ที่ไม่ปรากฏในต้นฉบับเข้ามาในฉบับแปลด้วย โดยสรุป การถ่ายทอดอุปลักษณ์เชิง มโนทัศน์ในตัวบทโฆษณาเครื่องสำอางจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทแทบไม่พบปัญหาในการแปลที่มาจากปัจจัยทางวัฒนธรรมซึ่งอาจเป็นเพราะวัฒนธรรมปลายทางรับค่านิยมและวัฒนธรรมจากต่างชาติโดยเฉพาะเรื่องความงามมาอย่างยาวนาน จึงสามารถรักษามโนทัศน์เดิมในต้นฉบับได้เป็นส่วนใหญ่ ส่วนกลวิธีการแปลอื่น ๆ แสดงให้เห็นการปรับบทแปลในตัวบทโฆษณาเครื่องสำอาง


ประมวลศัพท์เรื่องความเท่าเทียมทางเพศ, ศิริพร เพียรชอบธรรม Jan 2020

ประมวลศัพท์เรื่องความเท่าเทียมทางเพศ, ศิริพร เพียรชอบธรรม

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

สารนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทฤษฎีและกระบวนการจัดทำประมวลศัพท์ และนำความรู้ที่ได้มาสร้างประมวลศัพท์เรื่องความเท่าเทียมทางเพศ ซึ่งประกอบด้วยศัพท์ที่มีความเกี่ยวข้องกับกระบวนการส่งเสริมความเท่าเทียมทางเพศ และความเท่าเทียมทางเพศในมิติของการทำงาน สารนิพนธ์ฉบับนี้ยังมุ่งหวังให้เกิดประโยชน์แก่เจ้าหน้าที่ นักแปล ล่าม ตลอดจนผู้ที่สนใจในประเด็นความเท่าเทียมทางเพศในการใช้เป็นเอกสารอ้างอิง สารนิพนธ์ฉบับนี้ประยุกต์ใช้ทฤษฎี แนวทาง และหลักการตามกระบวนการจัดทำประมวลศัพท์ที่นักศัพทวิทยาหลายๆ ท่านได้นำเสนอไว้ และจัดทำเป็นประมวลศัพท์ที่ประกอบด้วยศัพท์จำนวนทั้งสิ้น 30 คำ ซึ่งแต่ละคำจะประกอบด้วยข้อมูลศัพท์ภาษาอังกฤษ ศัพท์เทียบเคียงภาษาไทย ประเภทไวยากรณ์ ขอบเขตข้อมูล นิยาม บริบทการใช้ศัพท์ รูปศัพท์อื่นที่เกี่ยวข้อง และหมายเหตุแสดงข้อมูลอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์


การถ่ายทอดความเป็นสมัยใหม่นิยม (Modernism) ในบทกวีนิพนธ์เรื่อง “The Love Song Of J. Alfred Prufrock” โดย ที.เอส. เอเลียต (T.S. Eliot), มิรา อุไรกุล Jan 2020

การถ่ายทอดความเป็นสมัยใหม่นิยม (Modernism) ในบทกวีนิพนธ์เรื่อง “The Love Song Of J. Alfred Prufrock” โดย ที.เอส. เอเลียต (T.S. Eliot), มิรา อุไรกุล

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

สารนิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาการถ่ายทอดความเป็นสมัยใหม่นิยม (Modernism) ในบท กวีนิพนธ์เรื่อง “The Love Song of J. Alfred Prufrock” โดย ที.เอส. เอเลียต จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับแนวคิดสมัยใหม่นิยมในบริบทของโลกตะวันตกและบทวิเคราะห์ต่าง ๆ เกี่ยวกับการประพันธ์กวีนิพนธ์ของที.เอส. เอเลียต เพื่อนำมาใช้เป็น แนวทางการวิเคราะห์ตัวบท พร้อมทั้งศึกษาแนวคิดสมัยใหม่นิยมที่เกี่ยวข้องกับการประพันธ์ กวีนิพนธ์ในประเทศไทย แนวทางการประพันธ์กวีนิพนธ์ของกวีไทยร่วมสมัย ตลอดจนทฤษฎีการแปลที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ แนวทางการแปลกวีนิพนธ์ของฟรานซิส อาร์. โจนส์ (Francis R. Jones) รวมถึงแนวคิดเรื่องสัมพันธบท (Intertextuality) และกลวิธีการแปลของลอว์เรนซ์ เวนูติ (Lawrence Venuti) เพื่อนำมาใช้เป็นแนวทางในการแปลเพื่อถ่ายทอดความเป็นสมัยใหม่นิยมอันเป็นแนวคิดสำคัญของกวีนิพนธ์เรื่องนี้ ผลการวิจัยพบว่า การแปลเพื่อถ่ายทอดความเป็นสมัยใหม่นิยมอันเป็นเป้าหมายหลักของสารนิพนธ์ฉบับนี้ ทำได้ด้วยการวิเคราะห์และสังเคราะห์คุณลักษณะต่าง ๆ ที่สะท้อนความเป็นสมัยใหม่นิยมภายในตัวบทต้นฉบับ โดยประยุกต์ใช้โครงสร้างกวีนิพนธ์แบบผิดแผกจาก ขนบของกวีไทยในยุคร่วมสมัย และให้ความสำคัญกับความหมายเป็นหลัก ซึ่งสามารถสะท้อนความเป็นสมัยใหม่นิยมที่ตั้งคำถามต่อขนบ ทั้งยังช่วยแก้ไขปัญหาในการวิจัย และนำไปสู่บทแปลที่สามารถสะท้อนตัวบทต้นฉบับได้อย่างใกล้เคียง


การถ่ายทอดภาพพจน์ประเภทบุคคลวัตและอุปลักษณ์ในการแปลกวีนิพนธ์ เรื่อง Il Penseroso ของ John Milton, ปิยธิดา คำพิพจน์ Jan 2020

การถ่ายทอดภาพพจน์ประเภทบุคคลวัตและอุปลักษณ์ในการแปลกวีนิพนธ์ เรื่อง Il Penseroso ของ John Milton, ปิยธิดา คำพิพจน์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

สารนิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาการแปลบุคคลวัตและอุปลักษณ์ ในบทกวีนิพนธ์ เรื่อง Il Penseroso จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย ผู้วิจัยได้นำทฤษฎีการกระทำการแปลของคริสติอันเน นอร์ด ทฤษฎีสโคโพสของคาทารินา ไรส์และฮานส์ แฟร์เมีย หลักการแปลกวีนิพนธ์ของอองเดร เลอเฟอแวร์ หลักการแปลกวีนิพนธ์และหลักการแปลอุปมาโวหารของสัญฉวี สายบัว หลักการแปลกวีนิพนธ์ของปราณี บานชื่น และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาใช้เป็นแนวทางการแปลเพื่อรักษาสุนทรียภาพและความหมายเดิมในตัวบทต้นฉบับ และถ่ายทอดการใช้ภาพพจน์ที่สะท้อนความเชื่อและความสามารถทางกวีนิพนธ์ของกวี ผลการวิจัยพบว่า การแปลบุคคลวัตและอุปลักษณ์ซึ่งเป็นเป้าหมายหลักของสารนิพนธ์จำเป็นต้องใช้แนวทางการแปลมากกว่าหนึ่งแนวทางเพื่อให้การแปลสัมฤทธิ์ผล โดยในการแปลบุคคลวัตด้านธรรมชาติสามารถใช้การแปลแบบตรงตัวได้ แต่ในการแปลบุคคลวัตด้านวรรณคดีจำเป็นต้องใช้การแปลแบบกึ่งตรงตัวควบคู่ไปกับการแปลเทียบเคียงและการขยายความเพื่อความเข้าใจของผู้อ่าน โดยแนวทางการแปลที่กล่าวถึงนี้สามารถรักษาสุนทรียภาพและความหมายเดิมในตัวบทต้นฉบับไว้ได้ และช่วยแก้ไขปัญหาการแปลจนนำไปสู่การถ่ายทอดการใช้ภาพพจน์ตามต้นฉบับได้อย่างใกล้เคียง


การแปลนิทานร้อยกรองสำหรับเด็กเรื่อง The Everywhere Bear ของ Julia Donaldson เป็นร้อยกรองภาษาไทย, เอกชัย วังประภา Jan 2020

การแปลนิทานร้อยกรองสำหรับเด็กเรื่อง The Everywhere Bear ของ Julia Donaldson เป็นร้อยกรองภาษาไทย, เอกชัย วังประภา

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

สารนิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแปลหนังสือนิทานร้อยกรองสำหรับเด็กเรื่อง The Everywhere Bear ของ จูเลีย โดนัลด์สัน จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย ต้นฉบับเป็นตัวบทสื่อผสมระหว่างเนื้อความกับภาพประกอบซึ่งไม่สามารถแยกเป็นเอกเทศได้ ผู้วิจัยจึงศึกษาทฤษฎีการแปลที่เกี่ยวข้องโดยกำหนดแนวทางการแปลเป็นแบบสื่อสารความหมาย ประยุกต์ใช้แนวทางการแปลบทร้อยกรองของเลอเฟอแวร์ วิเคราะห์ตัวบทที่มีสื่อผสมหลายรูปแบบตามแนวคิดของนอร์ดและดิเซอร์โต ประยุกต์ใช้ทฤษฎีความเกี่ยวเนื่องของกุตต์ และทฤษฎีการสื่อสารรูปแบบผสมของเครสในการแก้ปัญหาการแปล สารนิพนธ์นี้มุ่งเน้นเสนอวิธีการแปลเพื่อสื่อความหมาย ดังนั้นทุกองค์ประกอบในสารนิพนธ์ ตั้งแต่การกำหนดแนวทางการแปล การวิเคราะห์ตัวบทต้นฉบับ การแปลตัวบท จนถึงการแก้ปัญหาการแปล ดำเนินไปในทิศทางเดียวกัน ผลการวิจัยพบว่า ความรู้ ทฤษฎี และแนวคิดต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้นช่วยให้ผู้วิจัยเข้าใจต้นฉบับ แก้ปัญหาการแปล และแปลตัวบทออกมาเป็นบทร้อยกรองภาษาไทยได้อย่างเหมาะสมและมีความสอดคล้องกันระหว่างบทแปลภาษาไทยกับภาพมากที่สุด


การแปลบทร้อยกรองอิสระจากหนังสือเรื่อง Ceremony ของ Leslie Marmon Silko, นิดา สุสัณฐิตพงษ์ Jan 2020

การแปลบทร้อยกรองอิสระจากหนังสือเรื่อง Ceremony ของ Leslie Marmon Silko, นิดา สุสัณฐิตพงษ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

สารนิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาการแปลบทร้อยกรองจากภาษาต่างประเทศเป็นภาษาไทย ซึ่งผู้วิจัยได้หยิบยกบทร้อยกรองอิสระจากหนังสือเรื่อง Ceremony ของ Leslie Marmon Silko มาเป็นกรณีศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทฤษฎีการแปลและแนวทางการแปลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนแนวทางการวิเคราะห์ตัวบทประเภทบทร้อยกรองอิสระซึ่งมีลักษณะเป็นวรรณกรรมมุขปาฐะ ควบคู่ไปกับการศึกษาประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ภาษาถิ่นและความเชื่อของชนพื้นเมืองอเมริกันอินเดียน เพื่อให้สามารถแปลส่วนหนึ่งของตัวบทที่คัดสรรจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยได้อย่างเหมาะสม สำหรับแนวทางการวิเคราะห์ตัวบท ผู้วิจัยได้เลือกใช้แนวทางการวิจารณ์วรรณกรรมอเมริกันร่วมสมัยผ่านมุมมองวรรณกรรมเชิงนิเวศ ของดารินทร์ ประดิษฐทัศนีย์ เพื่อวิเคราะห์ประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมถึงความสัมพันธ์ของมนุษย์และธรรมชาติที่ได้ถ่ายทอดผ่านเนื้อหาและกลวิธีการประพันธ์ นอกเหนือจากนั้น ผู้วิจัยยังได้ใช้ประยุกต์ใช้แนวทางการวิเคราะห์องค์ประกอบแปดประการของกวีนิพนธ์ ของจอห์น แมกเร เพื่อวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะและรูปแบบการประพันธ์ของบทร้อยกรองแต่ละบท ในส่วนของแนวทางการถ่ายทอดบทร้อยกรองอิสระจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย ผู้วิจัยได้เลือกใช้กลวิธีการแปลแบบตีความตามแนวทางการแปลกวีนิพนธ์ของอังเดร เลอเฟอแวร์ ควบคู่ไปกับการประยุกต์ใช้รูปแบบและลักษณะเฉพาะของวรรณกรรมมุขปาฐะที่พบในวัฒนธรรมไทย โดยมีจุดประสงค์ที่จะถ่ายทอดบทร้อยกรองอิสระซึ่งสามารถรักษาความหมายได้อย่างครบถ้วนและสามารถสร้างผลกระทบทางอารมณ์แก่ผู้อ่านได้อย่างทัดเทียมและสอดคล้องกับหน้าที่ของตัวบทต้นฉบับ


การแปลมนต์คาถาในนิยายภาพเรื่อง Zatanna ของ Paul Dini, ธัญจิรา จันทร์ประสิทธิ์ Jan 2020

การแปลมนต์คาถาในนิยายภาพเรื่อง Zatanna ของ Paul Dini, ธัญจิรา จันทร์ประสิทธิ์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

สารนิพนธ์เรื่องนี้มุ่งหาแนวทางการแปลมนต์คาถาซึ่งเป็นศิลปะการเล่นทางภาษาแบบร่ายกลับหลังและพาลินโดรมในนิยายภาพเรื่อง ซาแทนน่า (Zatanna) ของ พอล ดินี (Paul Dini) ผู้วิจัยได้เสนอแนวทางการแปลไว้ 3 แนวทาง ได้แก่ 1. การประยุกต์ใช้แนวคิดเรื่องขนบการแปลของ กิเดียน ทูรี (Gideon Toury) ร่วมกับทฤษฎีวัจนกรรมของ เจ. แอล. ออสติน (J. L. Austin) และกระบวนการภารตานุวาทของ อัสนี พูลรักษ์ เพื่อเป็นแนวทางที่จะทำให้ผู้อ่านบทแปลภาษาไทยยอมรับได้ตามขนบภาษาเวทมนตร์ของไทย 2. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีประเด็นสัมพันธ์ของ เออร์เนสต์ ออกัส กัตต์ (Ernest – August Gutt) ร่วมกับกลวิธีการแปลการเล่นคำของ เดิร์ก เดอลาบาสติตา (Dirk Delabastita) เพื่อทดแทนการเล่นทางภาษาของต้นฉบับและสร้างผลลัพธ์ที่ใกล้เคียงกับต้นฉบับมากที่สุดทั้งในแง่ของความหมายและการเล่นทางภาษา ซึ่งศิลปะการเล่นทางภาษาของไทยที่ผู้วิจัยเลือกใช้ คือ การเล่นคำผวนและฉันทลักษณ์ของกลบท และ 3. การปรับใช้กลวิธีการแปลการ์ตูนของ มิฮาล โบโดโร (Michal Borodo) เพื่อถ่ายทอดเนื้อหาและวัจนลีลาของต้นฉบับภาษาอังกฤษออกมาเป็นบทแปลภาษาไทยได้อย่างสมจริงที่สุด ผลการศึกษาพบว่า การใช้คำยืมภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตตามกระบวนการภารตานุวาทสามารถช่วยยกระดับภาษาของมนต์คาถาให้มีความศักดิ์สิทธิ์ตามขนบการใช้ภาษาเวทมนตร์ของไทย การเล่นคำผวนและฉันทลักษณ์ของกลบทเป็นกลวิธีที่สามารถสร้าง ผลลัพธ์ (Effect) ที่มีความใกล้เคียงกับต้นฉบับมากที่สุดและเป็นการเล่นคำที่ผู้ใช้ภาษาไทยส่วนใหญ่คุ้นเคย จึงไม่ต้องใช้ความพยายามในการทำความเข้าใจ (Effort) เกินความจำเป็น และการปรับใช้กลวิธีการแปลการ์ตูน ซึ่งประกอบด้วย การแปลแบบเพิ่ม (Addition) การแปลแบบลด (Condensation) และการแปลแบบแปลง (Transformation) ก็เป็นประโยชน์ต่อการแปลมนต์คาถาและข้อความทั้งหลายเช่นกัน