Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Digital Commons Network

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Articles 1 - 5 of 5

Full-Text Articles in Entire DC Network

Diversity Of Mosses In Phu Kradueng National Park, Loei Province, Patsakorn Ajintaiyasil Jan 2017

Diversity Of Mosses In Phu Kradueng National Park, Loei Province, Patsakorn Ajintaiyasil

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

The study of mosses diversity in Phu Kradueng National Park, Loei Province was explored from December 2014 to December 2016. The samples were collected along the 6 natural trails. A total of 501 samples were identified into 30 families, 55 genera, 100 species, 5 subspecies, and 9 varieties. Three families of mosses namely Sphagnaceae, Fissidentaceae, and Leucobryaceae were common families which included 11, 9 and 7 taxa, respectively. Additionally, the most common microhabitat was saxicolous with 45 species. The second and third common microhabitats were terrestrial and corticolous with 43 and 37 species, respectively. Additionally, there are 4 species which …


การเปลี่ยนแปลงของภูมิทัศน์และความเป็นเมืองในพื้นที่ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา: พื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล, ตวงพร ปิตินานนท์ Jan 2017

การเปลี่ยนแปลงของภูมิทัศน์และความเป็นเมืองในพื้นที่ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา: พื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล, ตวงพร ปิตินานนท์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของภูมิทัศน์และความเป็นเมืองในพื้นที่ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึ่งเป็นพื้นที่ราบลุ่มต่ำที่อยู่ภายใต้อิทธิพลของน้ำขึ้นน้ำลงและลมมรสุม ระหว่างสมัยรัชกาลที่ 5 ถึงปัจจุบัน การศึกษาแบ่งเป็น 2 ระดับ ได้แก่ 1) ระดับเมือง บริเวณกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2) ระดับพื้นที่เฉพาะ บริเวณรังสิต บางลำพู และคลองอ้อมนนท์ ศึกษาโดยการเปรียบเทียบแผนที่สมัยรัชกาลที่ 5 และปัจจุบัน ซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญในการศึกษาภูมิทัศน์เชิงประวัติศาสตร์จากพื้นที่ลุ่มน้ำท่วมถึงสู่การตั้งถิ่นฐานของสังคมลุ่มแม่น้ำ สังคมชาวสวน และพัฒนาสู่ชุมชนเมือง การสำรวจภาคสนาม การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงด้วยการแยกชั้นข้อมูลองค์ประกอบทางภูมิทัศน์ที่สำคัญ และเสนอแนะแนวทางการพัฒนาเมืองที่สอดคล้องกับเงื่อนไขและข้อจำกัดของภูมิทัศน์ในพื้นที่ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ ผลการศึกษาพบว่าการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในช่วงรัชกาลที่ 5 อยู่ภายใต้เงื่อนไขและข้อจำกัดทางภูมิทัศน์ ด้วยการออกแบบลักษณะบ้านเรือนแบบยกเสาสูงและการจัดการพื้นที่เกษตรที่สอดคล้องกับพลวัตทางธรรมชาติ เช่น ทุ่งนา ขนัดสวน และเครือข่ายคลอง ต่อมา การพัฒนาเมืองสมัยใหม่มีทิศทางการเปลี่ยนแปลงจากสังคมเกษตรกรรมสู่สังคมอุตสาหกรรมส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน การขยายตัวของพื้นที่อยู่อาศัยและอุตสาหกรรมในเขตชานเมืองด้วยการถมที่ทับทุ่งและทางน้ำเพื่อปลูกสิ่งก่อสร้างทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสัณฐานของภูมิทัศน์ที่ส่งผลต่อระดับชั้นความสูงและความพรุนของเมือง ซึ่งลดทอนความสามารถของภูมิทัศน์เดิม ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านนิเวศเมือง


Halophilic Bacteria From Salty Fermented Foods And Its Bacteriocin Encoding Gene Expression To Use As Biocontrol Agent Against Staphylococcus Aureus In Salt Added Foods, Vishal Chhetri Jan 2017

Halophilic Bacteria From Salty Fermented Foods And Its Bacteriocin Encoding Gene Expression To Use As Biocontrol Agent Against Staphylococcus Aureus In Salt Added Foods, Vishal Chhetri

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

This research was aimed to isolate, select and apply bacteriocin producing halophilic bacteria from salty fermented foods, Plara (Thai traditional salty fermented fish) and soya sauce as bio-control agent in foods. The isolates having inhibitory activity against different strains of Staphylococcus aureus were selected, identified and characterized prior to application as protective starter in food models. Bacterial communities of Plara and soya sauce samples were studied by two methods, a cultural dependent and cultural independent method (Reverse Transcriptase PCR DGGE (Rev-T PCR-DGGE)), and subsequently sequenced by 16s rDNA analysis. Halanaerobium spp. in Plara and Staphylococcus gallinarum in soya sauce were …


การประเมินปริมาณคาร์บอนของป่าชุมชน ด้วยเทคนิคอากาศยานไร้คนขับ: กรณีศึกษาป่าชุมชนบ้านบุตาต้อง ตำบลนากลาง อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา, ธนวิทย์ ถมกระจ่าง Jan 2017

การประเมินปริมาณคาร์บอนของป่าชุมชน ด้วยเทคนิคอากาศยานไร้คนขับ: กรณีศึกษาป่าชุมชนบ้านบุตาต้อง ตำบลนากลาง อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา, ธนวิทย์ ถมกระจ่าง

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยมีแนวคิดที่ประยุกต์ใช้อากาศยานไร้คนขับ (Unmanned Aerial Vehicle : UAV) เพื่อประเมินปริมาณคาร์บอนกักเก็บของป่าชุมชนบ้านบุตาต้อง ตำบลนากลาง อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา โดยการใช้ข้อมูลกลุ่มจุดสามมิติ (Point Could) ที่ได้จากการประมวลผลของภาพถ่ายทางอากาศที่ได้จากอากาศยานไร้คนขับ เพื่อนำมาสร้างแบบจำลองความสูงสิ่งปกคลุมพื้นผิวเชิงเลข (Digital Surface Model : DSM) และแบบจำลองความสูงภูมิประเทศเชิงเลข (Digital Elevation Model :DEM) จากนั้นทำการหาความสูงของต้นไม้โดยการหาค่าต่างระหว่างของแบบจำลองดังกล่าว นอกจากนั้นผู้วิจัยได้ทำการกำหนดแปลงตัวอย่างถาวรขนาด 40 × 40 เมตร จำนวน 10 แปลง เพื่อสำรวจเก็บข้อมูลขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกและความสูงต้นไม้ เพื่อใช้ในการประเมินความถูกต้องของข้อมูลที่ได้จากอากาศยานไร้คนขับ ในการหามวลชีวภาพเหนือพื้นดินผู้วิจัยใช้สมการแอลโมเมตรี (allometric equations) ประเภทป่าเต็งรัง ผลการวิจัยพบว่าความสูงที่ได้จากข้อมูลอากาศยานไร้คนขับมีความสัมพันธ์กับภาคสนามโดยมีค่า R2 อยู่ที่ 0.715-0.898 และมีความคลาดเคลื่อนของความสูงต้นไม้อยู่ที่ 0.50-0.66 เมตร ปริมาณคาร์บอนทั้งพื้นที่ศึกษามี 1.54 ตัน/ไร่ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณคาร์บอนกักเก็บในแปลงตัวอย่างพบว่ามีความคลาดเคลื่อนอยู่ที่ร้อยละ 13-59 ซึ่งความคลาดเคลื่อนดังกล่าวมาจากความคลาดเคลื่อนในการประมาณขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกจากข้อมูลความสูงต้นไม้ที่ได้จากอากาศยานไร้คนขับเนื่องจากความสัมพันธ์ดังกล่าวไม่มีความชัดเจน จากนั้นผู้วิจัยได้ทำการหาขนาดพื้นที่ที่เหมาะสมในการหาปริมาณคาร์บอนกักเก็บพบว่าขนาดพื้นที่มากกว่า 25×25 เมตรมีความเหมาะสมสำหรับกรหาปริมาณคาร์บอนกักเก็บในพื้นที่ศึกษา


Taxonomic Revision Of Dendrobium Sw. Section Stachyobium Lindl. (Orchidaceae) In Thailand, Phataravee Prommanut Jan 2017

Taxonomic Revision Of Dendrobium Sw. Section Stachyobium Lindl. (Orchidaceae) In Thailand, Phataravee Prommanut

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Taxonomic revision of Dendrobium Sw. section Stachyobium Lindl. in Thailand has been conducted from 2015-2018 based on natural habitats observation in Thailand as well as various herbaria visits, i.e. BCU, BK, BKF, BM, C, CMUB, E, K, KKU and QBG. Key to species, taxonomic descriptions, ecological data, illustrations and geographical distribution of all taxa are provided. Twenty four taxa with including 21 species and 3 varieties were recognized. Among these, two species namely Dendrobium chiangdaoense and D. obchantiae are new to Thailand and two species viz. Dendrobium sp.2 and Dendrobium sp.3 are being proposed as new species. Besides, Dendrobium sp.1 …