Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Digital Commons Network

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Articles 1 - 2 of 2

Full-Text Articles in Entire DC Network

Potential Of Using Surfactants To Enhance Ammonium And Nitrate Adsorption On Rice Husk And Its Biochar, Lada Mathurasa, Seelawut Damrongsiri Jan 2017

Potential Of Using Surfactants To Enhance Ammonium And Nitrate Adsorption On Rice Husk And Its Biochar, Lada Mathurasa, Seelawut Damrongsiri

Applied Environmental Research

Inorganic nitrogen fertilizers are widely and heavily used in agriculture. Leaching of these fertilizers is a cause of eutrophication in water bodies. This study examines the use of rice husk and its biochar, their efficiency in adsorption of ammonium and nitrate and the potential of using surfactants, sodium dodecyl benzenesulfonate (SDBS) and cetyl trimethyl ammonium bromide (CTAB), to increase adsorption. Physical and chemical properties of adsorbents were examined through BET, SEM-EDX, and CEC value, respectively. The equilibrium batch adsorption was conducted. The result showed that rice husk was lower in surface area, total pore volume, pore diameter, silica and oxygen …


การประยุกต์ใช้ถ่านชีวภาพเพื่อความมั่นคงทางอาหารในการเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์, เสาวนีย์ วิจิตรโกสุม Jan 2017

การประยุกต์ใช้ถ่านชีวภาพเพื่อความมั่นคงทางอาหารในการเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์, เสาวนีย์ วิจิตรโกสุม

UNISEARCH (Unisearch Journal)

การผลิตในภาคเกษตรกรรม เป็นภาคส่วนที่มีความอ่อนไหว(vulnerability) ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นอย่างมากอีกทั้งยังได้รับผลกระทบโดยตรงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กล่าวคือ อุณหภูมิที่สูงขึ้นหรือลดลง สภาวะความแห้งแล้ง การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำฝนและความถี่ของฝนส่งผลโดยตรงต่อกิจกรรมการเพาะปลูก ช่วงการเจริญเติบโตของพืช ปริมาณและคุณภาพของผลผลิต ซึ่งจะทำให้เกิดความเสี่ยงต่อการขาดแคลนอาหาร ความมั่นคงทางอาหารและความสามารถในการผลิตอาหารของประเทศต่าง ๆ ได้โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในประเทศกำลังพัฒนาซึ่งมีวิถีการเพาะปลกูที่เชื่อมโยงกับสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติถ่านชีวภาพ (Biochar) เป็นวัสดุที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นวัสดุปรับปรุงดิน (soil amendment) ที่มีประสิทธิภาพซึ่งส่งผลให้ดินมีคุณภาพที่ดีขึ้น (Sriburi and Wijitkosum, 2016;Wijitkosum and Kallayasiri, 2015; Yooyen et al., 2015;Masulili et al., 2010; Lehmann, 2009; Lehmann and Rondon,2006; Yamato et al., 2006) มีคุณสมบัติที่เอื้อต่อการเพาะปลูกพืช (Wijitkosum and Kallayasiri, 2015;Thies and Rillig, 2009; Chan et al., 2007) และเป็นวัสดุที่ช่วยสนับสนุนการเจริญเติบโตของพืชได้ดีขึ้น รวมทั้งช่วยเพิ่มผลผลิตพืชทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณของผลผลิต(Sriburi and Wijitkosum, 2016; Wijitkosum and Kallayasiri, 2015; Zhang et al., 2012; Lehmann et al., 2011) ถ่านชีวภาพสามารถผลิตได้จากวัตถุดิบซึ่งเป็นเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น ซังข้าวโพด แกลบ เหง้ามันสำปะหลังทลายปาล์ม ฟางข้าว เป็นต้น (ทวีวงศ์ ศรีบุรี และเสาวนีย์ วิจิตรโกสุม, 2558; Zhan et al., 2015; Liu et al. 2014)และเศษไม้เหลือใช้หรือเหลือทิ้งจากการตัดแต่งกิ่งและต้นไม้ซึ่งสามารถใช้ได้ทั้ง ไม้เนื้อแข็งและไม้เนื้ออ่อน (Sriburi and Wijitkosum, 2016; Sun et al., 2014) …