Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Digital Commons Network

Open Access. Powered by Scholars. Published by Universities.®

Physical Sciences and Mathematics

PDF

Chulalongkorn University

2019

Articles 1 - 30 of 253

Full-Text Articles in Entire DC Network

เรื่องจากปก: "พืชน้ำ" ความสำคัญต่อระบบนิเวศ, ขวัญฤทัย คำฝาเชื้อ Oct 2019

เรื่องจากปก: "พืชน้ำ" ความสำคัญต่อระบบนิเวศ, ขวัญฤทัย คำฝาเชื้อ

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: การประยุกต์ใช้จลนศาสตร์ไฟฟ้าบำบัดและฟื้นฟูพื้นที่ปนเปื้อนโลหะหนัก, กฤษฎี วานิชสวัสดิ์วิชัย, พันธวัศ สัมพันธ์พานิช Oct 2019

บทความ: การประยุกต์ใช้จลนศาสตร์ไฟฟ้าบำบัดและฟื้นฟูพื้นที่ปนเปื้อนโลหะหนัก, กฤษฎี วานิชสวัสดิ์วิชัย, พันธวัศ สัมพันธ์พานิช

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: ผลสำเร็จของงานบริการวิชาการแก่สังคมด้านสิ่งแวดล้อม...สู่การพัฒนา 1 คณะ 1 โมเดล (The Achievement Of Academic Services To Society For The Environment...To The Development Of One Faculty - One Model), ณรงค์ ใจเที่ยง, ปฏิพัทธ์ วงค์เรือง, ศรีสดา เจริญดี, ประกาศิต ทอนช่วย, ภากรณ์ ภู่สุวรรณ, แสงชัย วงศ์มานะกูล, อรทัย เกตุขาว Oct 2019

บทความ: ผลสำเร็จของงานบริการวิชาการแก่สังคมด้านสิ่งแวดล้อม...สู่การพัฒนา 1 คณะ 1 โมเดล (The Achievement Of Academic Services To Society For The Environment...To The Development Of One Faculty - One Model), ณรงค์ ใจเที่ยง, ปฏิพัทธ์ วงค์เรือง, ศรีสดา เจริญดี, ประกาศิต ทอนช่วย, ภากรณ์ ภู่สุวรรณ, แสงชัย วงศ์มานะกูล, อรทัย เกตุขาว

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: การพัฒนาชุมชนสุขภาวะต้นแบบการป้องกันปัญหาหมอกควัน อำเภอปง จังหวัดพะเยา (Development Of Healthy Community Model For Smog Pollution Prevention In Pong District, Phayao Province), ณรงค์ ใจเที่ยง, ปฏิพัทธ์ วงค์เรือง Oct 2019

บทความ: การพัฒนาชุมชนสุขภาวะต้นแบบการป้องกันปัญหาหมอกควัน อำเภอปง จังหวัดพะเยา (Development Of Healthy Community Model For Smog Pollution Prevention In Pong District, Phayao Province), ณรงค์ ใจเที่ยง, ปฏิพัทธ์ วงค์เรือง

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: รูปแบบและผลสำเร็จการฟื้นฟูปะการังด้วย "โดมปะการัง" โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเกาะสีชัง-เกาะขามใหญ่ จังหวัดชลบุรี (Khamyai Island Community Coral Rehabilitation By "Coral Dome"), สมภพ รุ่งสุภา Oct 2019

บทความ: รูปแบบและผลสำเร็จการฟื้นฟูปะการังด้วย "โดมปะการัง" โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเกาะสีชัง-เกาะขามใหญ่ จังหวัดชลบุรี (Khamyai Island Community Coral Rehabilitation By "Coral Dome"), สมภพ รุ่งสุภา

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: การทำนาข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุงแบบอินทรีย์เพื่อความยั่งยืนของชุมชน, มลฤดี จันทรัตน์, ดวงกมล พิหูสูตร Oct 2019

บทความ: การทำนาข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุงแบบอินทรีย์เพื่อความยั่งยืนของชุมชน, มลฤดี จันทรัตน์, ดวงกมล พิหูสูตร

Environmental Journal

No abstract provided.


บทความ: ไม้กระถินเหลือใช้.....มวลชีวภาพสำหรับการฟื้นฟูดินปนเปื้อน, อโณทัย โกวิทย์วิวัฒน์, พันธวัศ สัมพันธ์พานิช, พินิจภณ ปิตุยะ Oct 2019

บทความ: ไม้กระถินเหลือใช้.....มวลชีวภาพสำหรับการฟื้นฟูดินปนเปื้อน, อโณทัย โกวิทย์วิวัฒน์, พันธวัศ สัมพันธ์พานิช, พินิจภณ ปิตุยะ

Environmental Journal

No abstract provided.


เรื่องจากปก: "เฮมพ์" กับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนอย่างสร้างสรรค์และยั่งยืน, กาญจน์นภา พงศ์พนรัตน์ Jul 2019

เรื่องจากปก: "เฮมพ์" กับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนอย่างสร้างสรรค์และยั่งยืน, กาญจน์นภา พงศ์พนรัตน์

Environmental Journal

No abstract provided.


"เฮมพ์" พืชไม่ธรรมดา มีคุณค่ามาจากสารสกัดและเส้นใย, กรองแก้ว ทิพยศักดิ์ Jul 2019

"เฮมพ์" พืชไม่ธรรมดา มีคุณค่ามาจากสารสกัดและเส้นใย, กรองแก้ว ทิพยศักดิ์

Environmental Journal

No abstract provided.


"เฮมพ์"…..เส้นทางงานวิจัยที่ต้องฝ่าฟัน....., มนทิรา สุขเจริญ, พันธวัศ สัมพันธ์พานิช Jul 2019

"เฮมพ์"…..เส้นทางงานวิจัยที่ต้องฝ่าฟัน....., มนทิรา สุขเจริญ, พันธวัศ สัมพันธ์พานิช

Environmental Journal

No abstract provided.


"เฮมพ์" นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาชุมชนและสิ่งแวดล้อมอย่างพอเพียงและยั่งยืน, รุ่งทิพย์ ลุยเลา Jul 2019

"เฮมพ์" นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาชุมชนและสิ่งแวดล้อมอย่างพอเพียงและยั่งยืน, รุ่งทิพย์ ลุยเลา

Environmental Journal

กัญชงหรือเฮมพ์ (Hemp) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cannabis sativa L. มีถิ่นกำเนิดในเอเชียกลาง บริเวณประเทศอินเดีย มณฑลยูนนาน ในประเทศจีน และเปอร์เซีย ตั้งแต่ 6,000 ปีก่อน ปัจจุบันมีการเพาะปลูกในประเทศเขตร้อนหลายพื้นที่ทั่วโลก รวมทั้งประเทศในแถบยุโรปด้วย (Bouloc et al., 2013; Horne, 2012; รุ่งทิพย์ ลุยเลา, 2560) แม้ว่าการปลูกกัญชงจะถูกจำกัดและมีการควบคุมอย่างเข้มงวดทางกฎหมายในหลายประเทศ แต่พบว่าในอดีตมีการปลูกเฮมพ์กันอย่างแพร่หลาย เพื่อนำมาผลิตเชือก และเส้นใยใช้ในครัวเรือน เนื่องจากเส้นใยเฮมพ์มีความแข็งแรงกว่าเส้นใยธรรมชาติชนิดอื่น และพบว่ามีการนำมาใช้เป็นเส้นใยเสริมแรงในวัสดุผสม (Composite materials) เพราะมีความแข็งแกร่งและมีข้อดีหลายประการเมื่อเทียบกับเส้นใยแก้ว สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้ กำจัดได้ง่าย และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Dhakal and Zhang, 2015)


จุดเริ่มต้นว่าด้วยเรื่องของ "เฮมพ์" หรือ "กัญชง" ที่ไม่ใช่ "กัญชา", มนทิรา สุขเจริญ, พันธวัศ สัมพันธ์พานิช Jul 2019

จุดเริ่มต้นว่าด้วยเรื่องของ "เฮมพ์" หรือ "กัญชง" ที่ไม่ใช่ "กัญชา", มนทิรา สุขเจริญ, พันธวัศ สัมพันธ์พานิช

Environmental Journal

No abstract provided.


หรือจะเป็น "เฮมพ์"? การผลิตเพื่อขับเคลื่อนสังคม…สู่วิถีชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน, รุจิรา ชัยศิริถาวรกุล, วรวรรณ ประชาเกษม Jul 2019

หรือจะเป็น "เฮมพ์"? การผลิตเพื่อขับเคลื่อนสังคม…สู่วิถีชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน, รุจิรา ชัยศิริถาวรกุล, วรวรรณ ประชาเกษม

Environmental Journal

No abstract provided.


เฮมพ์…รากเหง้าแห่งวิถีชีวิตวัฒนธรรมชาวม้ง, ภูมิฐวัศ สัมพันธ์พานิช, กาญจน์นภา พงศ์พนรัตน์ Jul 2019

เฮมพ์…รากเหง้าแห่งวิถีชีวิตวัฒนธรรมชาวม้ง, ภูมิฐวัศ สัมพันธ์พานิช, กาญจน์นภา พงศ์พนรัตน์

Environmental Journal

No abstract provided.


แนวทางการทดสอบความเป็นพิษผลิตภัณฑ์ "เฮมพ์" จากพื้นที่ปนเปื้อนโลหะหนัก, เอกชา ตนานนท์ชัย, อุดมศักดิ์ บุญมีรติ, พันธวัศ สัมพันธ์พานิช Jul 2019

แนวทางการทดสอบความเป็นพิษผลิตภัณฑ์ "เฮมพ์" จากพื้นที่ปนเปื้อนโลหะหนัก, เอกชา ตนานนท์ชัย, อุดมศักดิ์ บุญมีรติ, พันธวัศ สัมพันธ์พานิช

Environmental Journal

No abstract provided.


เรื่องจากปก: "เขื่อนวชิราลงกรณ" แหล่งน้ำที่สร้างพลังงานและชีวิต, ดวงกมล พิหูสูตร Apr 2019

เรื่องจากปก: "เขื่อนวชิราลงกรณ" แหล่งน้ำที่สร้างพลังงานและชีวิต, ดวงกมล พิหูสูตร

Environmental Journal

"เขื่อนวชิราลงกรณ" เป็นนามพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระปรมิทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ตามพระนามาภิไธยในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร แทนชื่อเดิม "เขื่อนเขาแหลม" เมื่อวันศุกร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 โดยเป็นหนึ่งในโครงการแผนพัฒนาลุ่มน้ำแม่กลองที่มีความยาวกว่า 390 กิโลเมตรเพื่ออำนวยประโยชน์หลักด้านการผลิตกระแสไฟฟ้าโดยมีขนาดกำลังการผลิตไฟฟ้า 300,000 กิโลวัตต์ ให้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยปีละ 777 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง เขื่อนวชิราลงกรณเริ่มก่อสร้างในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2522 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2527 เป็นเขื่อนหินถมแห่งแรกของประเทศไทย ที่ดาดคอนกรีตเสริมเหล็กที่ผิวหน้า ตั้งอยู่บนแม่น้ำแควน้อย พื้นที่ตำบลท่าขนุน อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี ส่วนของอ่างเก็บน้ำอยู่ในพื้นที่ 2 อำเภอ ได้แก่ อำเภอทองผาภูมิ และอำเภอสังขละบุรี มีพื้นที่เก็บกักสูงสุดปกติ 8,860 ล้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณน้ำที่ไหลเข้าอ่างโดยเฉลี่ย 5,500 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี


การพัฒนาวัสดุเพาะเห็ดนางรมทองจากกระดาษลังและเปลือกผลไม้เพื่อเพิ่มฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ, ณัฐวรา กิจธรรมรัตน์, ภัทรพร เอี่ยมศิริกิจ, ศศธร ศิริกุลสถิตย์, บัวหลวง ฝ้ายเยื่อ, ภัทรญา กลิ่นทอง Apr 2019

การพัฒนาวัสดุเพาะเห็ดนางรมทองจากกระดาษลังและเปลือกผลไม้เพื่อเพิ่มฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ, ณัฐวรา กิจธรรมรัตน์, ภัทรพร เอี่ยมศิริกิจ, ศศธร ศิริกุลสถิตย์, บัวหลวง ฝ้ายเยื่อ, ภัทรญา กลิ่นทอง

Environmental Journal

งานวิจัยนี้ศึกษาวัสดุเพาะเห็ดนางรมทอง (Pleurotus citrinopileatus Singer.) ที่ทำมาจากวัสดุเหลือทิ้งและเปลือกผลไม้ ได้แก่ กระดาษลัง เปลือกมังคุด และเปลือกเงาะ โดยผสมขี้เลื่อยไม้ยางพารากับกระดาษลัง เปลือกมังคุด และเปลือกเงาะในอัตราส่วนต่าง ๆ บันทึกการเจริญเติบโต วิเคราะห์ปริมาณโปรตีนและความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระของดอกเห็ด ผลการศึกษาพบว่า ขนาดและน้ำหนักแห้งของเห็ดนางรมทองที่เพาะในขี้เลื่อยผสมกับกระดาษลังและขี้เลื่อยผสมกับเปลือกมังคุดไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญกับเห็ดที่เพาะในขี้เลื่อยเพียงอย่างเดียว โดยเห็ดที่เจริญมาจากวัสดุเพาะที่เป็นขี้เลื่อยผสมกับเปลือกมังคุดที่อัตราส่วนร้อยละ 25:75 โดยปริมาตร มีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระมากที่สุด แม้จะมีโปรตีนและการเติบโตที่ช้าลง ดังนั้น หากต้องการทำให้เห็ดนางรมทองมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูง เปลือกมังคุดจึงเป็นวัสดุผสมชนิดหนึ่งที่เหมาะสมในการนำมาใช้เป็นวัสดุเพาะเห็ดนางรมทอง


การตีความผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมด้วยวิธีการประเมินวัฏจักรชีวิต: การเลือกใช้ถุงพลาสติกและถุงผ้า, ณัฐพงศ์ ตันติวิวัฒนพันธ์ Apr 2019

การตีความผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมด้วยวิธีการประเมินวัฏจักรชีวิต: การเลือกใช้ถุงพลาสติกและถุงผ้า, ณัฐพงศ์ ตันติวิวัฒนพันธ์

Environmental Journal

No abstract provided.


ภาพรวมมาตรการลดขยะพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้งในต่างประเทศ, สุจิตรา วาสนาดำรงดี Apr 2019

ภาพรวมมาตรการลดขยะพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้งในต่างประเทศ, สุจิตรา วาสนาดำรงดี

Environmental Journal

จากสถานการณ์การผลิตและใช้พลาสติกเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก ตั้งแต่ทศวรรษ 1950 มีการผลิตพลาสติกมากกว่า 8.3 พันล้านตันหรือเฉลี่ยปีละ 300 ล้านตัน (Geyer, Jambeck & Law, 2017) ด้วยคุณสมบัติของพลาสติกที่มีน้ำหนักเบา มีความยืดหยุ่นสูงและราคาถูก ทำให้มีการใช้พลาสติกในผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ต่าง ๆ อย่างแพร่หลาย โดยพลาสติกมากกว่าครึ่งหนึ่งที่ผลิตขึ้นใช้ในชีวิตประจำวันเป็นประเภทใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง (Single-use plastics) ซึ่งมีอายุการใช้งานสั้นและทำให้เกิดการใช้พลาสติกมากเกินความจำเป็น ทั่วโลกจึงกำลังประสบปัญหามลพิษจากขยะพลาสติกโดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศกำลังพัฒนาที่ไม่มีระบบจัดการขยะมูลฝอยที่มีประสิทธิภาพ นักวิจัยคาดการณ์ว่าขยะพลาสติกที่เกิดขึ้นทั่วโลก มีเพียงร้อยละ 9 เท่านั้นที่มีการนำกลับมาใช้ใหม่ (รีไซเคิล) และส่วนใหญ่ (ร้อยละ 79) สะสมในแหล่งฝังกลบหรือตกค้างในสิ่งแวดล้อมบนบกและในทะเล (Geyer, Jambeck & Law, 2017)


ข้อเท็จจริง "พลาสติกที่ย่อยสลายได้ในสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ" (Environmentally Degradable Plastics: Edp), ศุภกิจ สุทธิเรืองวงศ์, สุจิตรา วาสนาดำรงดี Apr 2019

ข้อเท็จจริง "พลาสติกที่ย่อยสลายได้ในสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ" (Environmentally Degradable Plastics: Edp), ศุภกิจ สุทธิเรืองวงศ์, สุจิตรา วาสนาดำรงดี

Environmental Journal

No abstract provided.


ข่าวสิ่งแวดล้อม: เสวนาวิชาการเรื่อง "นโยบายสิ่งแวดล้อมกับการเมืองไทย: เป้าหมายเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน", ณัฐพงศ์ ตันติวิวัฒนพันธ์, ปกฉัตร ชูติวิศุทธิ์, ศีลาวุธ ดำรงศิริ. Apr 2019

ข่าวสิ่งแวดล้อม: เสวนาวิชาการเรื่อง "นโยบายสิ่งแวดล้อมกับการเมืองไทย: เป้าหมายเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน", ณัฐพงศ์ ตันติวิวัฒนพันธ์, ปกฉัตร ชูติวิศุทธิ์, ศีลาวุธ ดำรงศิริ.

Environmental Journal

No abstract provided.


ขยะไมโครพลาสติกบริเวณชายหาดฝั่งตะวันตก จังหวัดภูเก็ต, เพ็ญศิริ เอกจิตต์, สิริวรรณ รวมแก้ว Apr 2019

ขยะไมโครพลาสติกบริเวณชายหาดฝั่งตะวันตก จังหวัดภูเก็ต, เพ็ญศิริ เอกจิตต์, สิริวรรณ รวมแก้ว

Environmental Journal

จังหวัดภูเก็ตเป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคใต้ของประเทศไทยซึ่งตั้งอยู่ในทะเลอันดามัน มีพื้นที่ทั้งหมด 543.034 ตารางกิโลเมตร หรือ 356,271.25 ไร่ มีประชากรทั้งสิ้น 392,011 คน (สํานักงานจังหวัดภูเก็ต, 2559) พื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดภูเก็ตเป็นที่ราบสูงหรือภูเขาและที่เหลือจะเป็นที่ราบเชิงเขาหรือชายฝั่งทะเล มีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 3 แสนคนและมีประชากรแฝงอีกประมาณ 3.8 แสนคน (สำนักงานสถิติจังหวัดภูเก็ต, 2558) บริเวณชายฝั่งทะเลของจังหวัดภูเก็ตเป็นสถานที่สำคัญในการใช้ประโยชน์และการทำกิจกรรมต่างๆ โดยเฉพาะการท่องเที่ยว โรงแรม ร้านอาหาร และการประมง เป็นต้น ซึ่งมีอัตราการท่องเที่ยวมากขึ้นในทุกๆปี โดยในปี 2557 มีนักท่องเที่ยวประมาณ 11 ล้านคนต่อปี (กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, 2557) ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้ล้วนส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อสิ่งแวดล้อมใกล้ชายฝั่งทะเล ดังนั้นปัญหาและผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่ตามมาที่เห็นได้ชัดและส่งผลกระทบอย่างชัดเจนคือปัญหาขยะบริเวณชายฝั่ง ในปัจจุบันการใช้พลาสติกและวัสดุสังเคราะห์มีปริมาณเพิ่มขึ้นเหตุเพราะบรรจุภัณฑ์พลาสติกหรืออุปกรณ์พลาสติกจัดเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญในการดำเนินชีวิตประจำวันจึงทำให้การผลิตพลาสติกมีอัตราเติบโตเพิ่มขึ้น ซึ่งจากการสำรวจพบว่าประเทศไทยติดอันดับ 6 ของโลกที่มีขยะพลาสติกมากที่สุดในทะเล (Jambeck et al., 2015) ซึ่งแนวโน้มดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงปริมาณขยะในทะเลซึ่งมีพลาสติกเป็นองค์ประกอบอยู่ถึง 60-80% และในหลายพื้นที่อาจมีพลาสติกเป็นองค์ประกอบอยู่สูงถึง 90-95% ของปริมาณขยะทั้งหมด และเป็นที่รู้กันว่าไมโครพลาสติกมีขนาดเล็กยากต่อการเก็บและการกำจัด ประกอบกับมีคุณสมบัติที่คงสภาพย่อยสลายได้ยากจึงง่ายต่อการปนเปื้อน การแพร่กระจาย การสะสมและตกค้างในสิ่งแวดล้อม จากงานวิจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้องพบว่าพลาสติกเป็นขยะในทะเลที่พบมากที่สุดและเป็นแหล่งของสารพิษต่างๆ เนื่องจากพลาสติกสามารถดูดซับเอาสารพิษจากน้ำทะเลเอาไว้ โดยสารพิษที่พบมากเป็นพิเศษในขยะพลาสติก ได้แก่ สาร Polychlorinated biphenyl (PCBs) สาร Dichlorodiphenyethane (DDE) สาร Nonylphenols (NP)


ไมโครพลาสติกในแหล่งน้ำจืดและแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค, ศีลาวุธ ดำรงศิริ, เพ็ญรดี จันทร์ภิวัฒน์ Apr 2019

ไมโครพลาสติกในแหล่งน้ำจืดและแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค, ศีลาวุธ ดำรงศิริ, เพ็ญรดี จันทร์ภิวัฒน์

Environmental Journal

ไมโครพลาสติกเป็นมลพิษทางสิ่งแวดล้อมที่ถูกกล่าวถึงและได้รับความสนใจเป็นอย่างมากในปัจจุบัน เนื่องจากปัจจุบันนี้ปริมาณของขยะพลาสติกนั้นเพิ่มจานวนขึ้นอย่างรวดเร็ว และโดยส่วนมากมักถูกจัดการอย่างไม่ถูกหลักสุขาภิบาล ขยะพลาสติกที่เกิดขึ้นบนบกเหล่านี้ ส่วนหนึ่งอาจถูกพัดพาลงสู่แหล่งน้าและทะเล จนก่อให้เกิดปัญหาแพขยะทะเลได้ในที่สุด พลาสติกนั้นเป็นขยะที่มีน้าหนักเบาและไม่สามารถย่อยสลายได้ในระยะเวลาอันสั้น จึงสามารถถูกพัดพาออกไปไกลจากแหล่งกาเนิดได้ และสามารถสลายตัวกลายเป็นชิ้นพลาสติกที่มีขนาดเล็กลงได้เมื่อถูกแสงแดด หรือแรงกระแทกจากคลื่น ลม และกระแสน้าในแหล่งน้าและทะเล พลาสติกที่แตกตัวเป็นชิ้นเล็ก ๆ เหล่านี้ สามารถแพร่กระจายได้ง่าย สามารถถูกสะสมโดยสิ่งมีชีวิตในแหล่งน้า อีกทั้งยังสามารถเป็นวัสดุตัวกลางที่สะสมสารพิษอื่น ๆ ที่มีอยู่ในสิ่งแวดล้อมอีกด้วย ด้วยเหตุนี้จึงทาให้นักวิจัยทั่วโลกให้ความสนใจศึกษาการจัดการขยะพลาสติกและสถานการณ์การปนเปื้อนของไมโครพลาสติกตั้งแต่ต้นน้า (แหล่งกาเนิดบนบก) กลางน้า (แหล่งน้าจืดผิวดิน) ไปจนถึงปลายน้า (ทะเลและมหาสมุทร) เป็นจานวนมาก นอกจากนั้นแล้วยังได้มีการเริ่มศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการปนเปื้อนไมโครพลาสติกในระบบการผลิตน้าประปาเพื่อการบริโภคและอุปโภคอีกด้วย เพื่อมุ่งหวังให้เกิดความเข้าใจต่อสถานการณ์การปนเปื้อนของขยะพลาสติกและไมโครพลาสติกอย่างรอบด้าน จนสามารถนาไปสู่แนวทางการบริหารจัดการขยะพลาสติก และการแก้ไขปัญหาการปนเปื้อนไมโครพลาสติกในสิ่งแวดล้อมได้อย่างยั่งยืนต่อไป


กระบะวัสดุปลูกกล้วยไม้ทดแทนกาบมะพร้าวจากสิ่งเหลือทิ้งทางการเกษตร, พุทธธินันทร์ จารุวัฒน์ Apr 2019

กระบะวัสดุปลูกกล้วยไม้ทดแทนกาบมะพร้าวจากสิ่งเหลือทิ้งทางการเกษตร, พุทธธินันทร์ จารุวัฒน์

Environmental Journal

No abstract provided.


เกษตรอินทรีย์ วิถียโสธร...แนวทางการเกษตรจากเมืองเกษตรอินทรีย์ต้นแบบของประเทศไทย, ปกฉัตร ชูติวิศุทธิ์ Apr 2019

เกษตรอินทรีย์ วิถียโสธร...แนวทางการเกษตรจากเมืองเกษตรอินทรีย์ต้นแบบของประเทศไทย, ปกฉัตร ชูติวิศุทธิ์

Environmental Journal

เมื่อกล่าวถึงคำว่า "เกษตรอินทรีย์" เชื่อว่าผู้คนส่วนใหญ่คงมีความคุ้นเคย หรืออย่างน้อยต้องเคยได้ยินคำๆ นี้กันมาบ้าง โดยเฉพาะกลุ่มคนที่มีความใส่ใจในเรื่องสุขภาพ และต้องการบริโภคอาหารที่ปลอดจากสารเคมีตกค้าง ซึ่งการทำเกษตรอินทรีย์เป็นหนึ่งในแนวทางการทำเกษตรกรรมที่มุ่งเน้นความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ โดยไม่มีการใช้สารเคมีในกระบวนการ ไม่ว่าจะเป็นปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง ยาปราบศัตรูพืช หรือฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโตของพืช ผลผลิตที่ได้จึงมีความเป็นมิตรต่อผู้บริโภคและไม่ส่งผลกระทบในทางลบต่อสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการทำเกษตรอินทรีย์ยังสนับสนุนให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพ และคำนึงถึงระบบนิเวศในแหล่งทำการเกษตรนั้นๆ จึงนับได้ว่าเป็นวิถีทางที่ส่งเสริมให้เกิดความยั่งยืนต่อทั้งชุมชนในภาคเกษตรกรรม ภาคสังคม และต่อสภาวะแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเรา


ผลของตัวเร่งปฏิกิริยาต่อคุณภาพของน้ำมันชีวภาพจากไพโรไลซิสชิ้นไม้ยูคาลิปตัสและซังข้าวโพดในเครื่องปฏิกรณ์เบดนิ่ง, วรเวช ศรีปราโมช Jan 2019

ผลของตัวเร่งปฏิกิริยาต่อคุณภาพของน้ำมันชีวภาพจากไพโรไลซิสชิ้นไม้ยูคาลิปตัสและซังข้าวโพดในเครื่องปฏิกรณ์เบดนิ่ง, วรเวช ศรีปราโมช

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

งานวิจัยนี้ศึกษาภาวะที่เหมาะสมสำหรับการไพโรไลซิสไม้ยูคาลิปตัสและซังข้าวโพดในเครื่องปฏิกรณ์แบบเบดนิ่ง พบว่าภาวะที่เหมาะสมสำหรับชีวมวลทั้งสองชนิดคือ เวลาทำปฏิกิริยาที่ 30 นาที อุณหภูมิ 500 องศาเซลเซียส และขนาดอนุภาคของชีวมวลระหว่าง 0.50-0.71 มิลลิเมตร ส่วนอัตราการไหลแก๊สไนโตรเจนสำหรับไม้ยูคาลิปตัสคือ 120 มิลลิลิตรต่อนาที และสำหรับ ซังข้าวโพดคือ 80 มิลลิลิตรต่อนาที ให้ผลได้น้ำมันชีวภาพสูงสุดของไม้ยูคาลิปตัสและซังข้าวโพดที่ร้อยละ 31.69 และ 22.01 โดยน้ำหนัก ตามลำดับ โดยน้ำมันชีวภาพจากชีวมวลทั้งสองชนิดให้ค่าความร้อนสูงขึ้นและใกล้เคียงกันคือ 23.14 และ 23.27 เมกะจูล/กิโลกรัม ตามลำดับ สอดคล้องกับอัตราส่วน H/C และ O/C ของน้ำมันชีวภาพจากชีวมวลทั้งสองชนิดที่มีค่าต่ำกว่าในชีวมวล เมื่อวิเคราะห์องค์ประกอบของน้ำมันชีวภาพพบว่าส่วนใหญ่เป็นสารในกลุ่มฟีนอล รองลงมาคือสารในกลุ่มกรดคาร์บอกซิลิก แอลดีไฮด์ อีเทอร์ คีโทน ไฮโดรคาร์บอน แซ็กคาไรด์ และสารที่มีปริมาณน้อยสุดคือสารในกลุ่มฟูแรน และจากการศึกษาผลของตัวเร่งปฏิกิริยาโดโลไมต์และเอฟซีซีใช้แล้ว พบว่าปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาที่เหมาะสมสำหรับชีวมวลทั้งสองชนิดคือร้อยละ 5 โดยน้ำหนัก และตัวเร่งปฏิกิริยาทั้งสองชนิดไม่มีผลอย่างมีนัยสำคัญต่อการลดออกซิเจนในน้ำมันชีวภาพ


คลังข้อมูลและระบบสนับสนุนการตัดสินใจของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เพื่ออยู่อาศัย, ปาริฉัตร เจือเพ็ชร์ Jan 2019

คลังข้อมูลและระบบสนับสนุนการตัดสินใจของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เพื่ออยู่อาศัย, ปาริฉัตร เจือเพ็ชร์

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

ในปัจจุบันธุรกิจจัดสรรบ้านและที่ดินเป็นธุรกิจที่มีการแข่งขันกันสูงมาก เพราะมีผู้ประกอบการในตลาดมากราย แต่ละรายก็เน้นที่จะเพิ่มยอดขายและทำกำไรให้สูงขึ้น ทำให้ปริมาณการก่อสร้างบ้านมีมากกว่ากำลังซื้อบ้านจัดสรรจำเป็นต้องสร้างเป็นการล่วงหน้า และกว่าจะแล้วเสร็จต้องใช้เวลาหลายเดือน ถ้าเกิดภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว กำลังซื้อตกลง จะมีสินค้าคงค้างเหลือขายในตลาดเป็นจำนวนมาก ดังนั้นเพื่อให้ขายบ้านได้ผู้จัดสรรจำเป็นต้องลดราคาลง ทำให้การแข่งขันยิ่งรุนแรงขึ้น ยอดขายโดยรวมจะลดลง ขณะที่ต้นทุนยังสูงอยู่ ผู้ประกอบการจึงต้องปรับตัวเพื่อแข่งขันกับคู่แข่ง คือการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้เป็นเครื่องมือสนับสนุนการวิเคราะห์ ช่วยในการวางแผนพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และการกำหนดกลยุทธ์ ลดการปลูกสร้างบ้านล่วงหน้าไม่ให้มีจำนวนมากเกินไป ควบคุมต้นทุน ลดค่าใช้จ่าย เพื่อให้บริษัทยังคงรักษาความสามารถในการแข่งขันได้ต่อไป โครงการ “คลังข้อมูลและระบบสนับสนุนการตัดสินใจของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เพื่ออยู่อาศัย” ประกอบด้วย 5 ระบบหลัก ได้แก่ (1) ระบบวิเคราะห์ภาพรวมของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ (2) ระบบวิเคราะห์รายได้และกำไรขั้นต้น (3) ระบบวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายทางการตลาด (4) ระบบวิเคราะห์สินค้าคงค้าง และ (5) ระบบวิเคราะห์คู่แข่ง ระบบได้ถูกพัฒนาขึ้นบนฐานข้อมูล Microsoft SQL Server 2019 Developer โดยใช้โปรแกรม Tableau Desktop 2019.4.3 ในการจัดทำระบบวิเคราะห์และแสดงผลข้อมูล ระบบสารสนเทศจากโครงการพิเศษนี้จะช่วยให้ผู้บริหารสามารถวิเคราะห์ข้อมูลในมุมมองต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว เพื่อนำไปใช้ประกอบการตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะสร้างประโยชน์ให้แก่บริษัทโดยรวม และเพิ่มความได้เปรียบหรือขีดความสามารถในการแข่งขันให้แก่บริษัทอีกด้วย


Multipole Resonance Probe Measurement In Plasma, Natthapong Jampaiboon Jan 2019

Multipole Resonance Probe Measurement In Plasma, Natthapong Jampaiboon

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

Active plasma resonance spectroscopy (APRS) is one of the interesting methods which could avoid plasma contamination problem occurs in a conventional Langmuir probe measurement. It is because the probe conductors are covered by a dielectric material. The APRS probe can be of any shape. A multipole resonance probe is a hemisphere APRS probe since a sphere imposes the simplest way to find an analytical solution by solving the Laplace equation in the spherical coordinates with the azimuthal symmetry. In this study, the APRS probes in the hemisphere, microstrip, and parallel rod shapes were constructed. Plasma density was obtained by using …


ผลของชาร์จากชีวมวลต่อการผลิตน้ำมันดิบชีวภาพโดยไฮโดรเทอร์มัลลิควิแฟกชัน, กัปตัน สมบูรณชนะชัย Jan 2019

ผลของชาร์จากชีวมวลต่อการผลิตน้ำมันดิบชีวภาพโดยไฮโดรเทอร์มัลลิควิแฟกชัน, กัปตัน สมบูรณชนะชัย

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การใช้พลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิลทำให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม เนื่องจากเกิดการปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์จำนวนมาก พลังงานจากชีวมวลเป็นแหล่งพลังงานหมุนเวียนที่จะช่วยลดปัญหาข้างต้นกระบวนการไฮโดรเทอร์มัลลิควิแฟกชันเป็นกระบวนการแปลงสภาพชีวมวลเป็นเชื้อเพลิงเหลวที่น่าสนใจ กระบวนการนี้ให้ร้อยละผลได้น้ำมันดิบชีวภาพที่สูงกว่ากระบวนการไพโรไลซิส การใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาร่วมในกระบวนการไฮโดรเทอร์มัลลิควิแฟกชันสามารถปรับปรุงคุณภาพน้ำมันดิบชีวภาพและผลได้ของน้ำมันดิบชีวภาพได้ ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงสนใจศึกษาการนำชาร์จากชีวมวลมาใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา การทดลองดำเนินการในเครื่องปฏิกรณ์ความดันสูงแบบกะที่อุณหภูมิ 300-350 องศาเซลเซียส ที่ความดันเริ่มต้น 2 เมกะพาสคัล โดยใช้เวลาในการทำปฏิกิริยา 60 นาที จากผลทดลองพบว่าเมื่อใช้ชาร์ชานอ้อย และ ถ่านกัมมันต์ ให้ร้อยละผลได้น้ำมันดิบชีวภาพเพิ่มขึ้น เนื่องจากชาร์ชานอ้อย และ ถ่านกัมมันต์ มีผลในการเร่งปฏิกิริยาการแตกตัวของชีวมวล และจากผลของอุณหภูมิในการทำปฏิกิริยาที่อุณหภูมิ 300 และ 350 องศาเซลเซียส พบว่าเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นผลได้น้ำมันดิบชีวภาพจะลดลงและผลิตภัณฑ์ที่เป็นแก๊สเพิ่มขึ้น จากการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของน้ำมันดิบชีวภาพด้วยเทคนิค GC / MS พบว่าองค์ประกอบของคีโตนเพิ่มขึ้น ในขณะที่สารประกอบไฮโดรคาร์บอนลดลง แสดงให้เห็นว่า ชาร์ช่วยส่งเสริมปฏิกิริยาการสลายตัวของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน นอกจากนี้ยังมีการศึกษาผลของการเติมโพแทสเซียมบนชาร์ชานอ้อย ชาร์กะลามะพร้าว และ ถ่านกัมมันต์ พบว่าโพแทสเซียมบนชาร์ทุกชนิดส่งผลให้ร้อยละผลได้น้ำมันดิบชีวภาพเพิ่มสูงขึ้น


การเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยา Nicos สำหรับแบตเตอรี่สังกะสี-อากาศที่ประจุไฟฟ้าได้, ณัฐสิทธิ์ ตั้งเอี่ยมสกุล Jan 2019

การเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยา Nicos สำหรับแบตเตอรี่สังกะสี-อากาศที่ประจุไฟฟ้าได้, ณัฐสิทธิ์ ตั้งเอี่ยมสกุล

Chulalongkorn University Theses and Dissertations (Chula ETD)

การสังเคราะห์นิกเกิลโคบอลต์ซัลไฟด์ (NiCoS) บนตัวรองรับคาร์บอนที่สังเคราะห์ด้วยวิธี ไฮโดรเทอร์มอลและโซลโวเทอร์มอล เพื่อใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาสองหน้าที่สำหรับปฏิกิริยาออกซิเจน รีดักชัน (oxygen reduction, ORR) และออกซิเจนอีโวลูชัน (oxygen evolution, OER) เพื่อใช้ งานกับแบตเตอรี่สังกะสี-อากาศขั้นทุติยภูมิ จากการทดลองพบว่าการสังเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยา นิกเกิลโคบอลต์ซัลไฟด์บนตัวรองรับคาร์บอน (NiCo₂S₄/CB) โดยใช้ตัวทำละลายเป็นเอทิลีนไกลคอลมีประสิทธิภาพในการเร่งปฏิกิริยาออกซิเจนรีดัชันและออกซิเจนอีโวลูชันได้ดีกว่าสังเคราะห์ ด้วยตัวทำละลายน้ำ นอกจากนี้ยังศึกษาผลของตัวรองรับคาร์บอน (CB) ตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิล โคบอลต์ซัลไฟด์ที่มีตัวรองรับคาร์บอน (NiCo₂S₄/CB) ให้ประสิทธิภาพดีกว่าที่ไม่มีตัวรองรับ คาร์บอน และยังสังเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยาด้วยอัตราส่วน นิกเกิล/โคบอลต์ อื่น ๆ พบว่า นิกเกิล โคบอลต์ซัลไฟด์บนตัวรองรับคาร์บอน (NiCo₂S₄/CB) มีประสิทธิภาพในการเร่งปฏิกิริยาสูงที่สุด ยัง สูงกว่าตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลโคบอลต์ออกไซด์บนตัวรองรับคาร์บอน (NiCo₂O₄/CB) ที่นิยมใช้งาน ในปัจจุบัน เมื่อนำมาเปรียบเทียบกับตัวเร่งปฏิกิริยาแพลทินัมบนตัวรองรับคาร์บอนเชิงพาณิชย์ (Pt/C) แม้ว่านิกเกิลโคบอตล์ซัลไฟต์บนตัวรองรับคาร์บอน (NiCo₂S₄/CB) จะยังมีความสามารถใน การเร่งปฏิกิริยาออกซิเจนรีดักชันด้อยกว่า แต่สำหรับปฏิกิริยาออกซิเจนอีโวลูชัน นิกเกิลโคบอตล์ซัลไฟต์บนตัวรองรับคาร์บอนมีประสิทธิภาพในการเร่งปฏิกิริยาสูงกว่าแพลทินัมบนตัวรองรับ คาร์บอนเชิงพาณิชย์ (Pt/C) มาก ในส่วนของการทดสอบประสิทธิภาพของแบตเตอรี่สังกะสี-อากาศ พบว่าแบตเตอรี่สังกะสี-อากาศ ที่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาแพลทินัมบนตัวรองรับคาร์บอนเชิงพาณิชย์ (Pt/C) ให้ศักย์ไฟฟ้าและความหนาแน่นพลังงานสูงกว่าแบตเตอรี่สังกะสี-อากาศที่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา นิกเกิลโคบอลต์ซัลไฟด์บนตัวรองรับคาร์บอน (NiCo₂S₄/CB) แต่เสถียรภาพและการนำกลับมาใช้ งานซ้ำ มีจำนวนรอบที่ต่ำกว่า